สัปดาห์นี้มีเรื่องที่คิดว่าน่าสนใจ ขอเลือกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7 เรื่อง ดังนี้
1. วันเสาร์ที่ 4 ม.ค.57 ผมเผยแพร่ในเฟซบุ๊ค เรื่อง http://www.pattanadownload.com/download/g.3/g3.34.pdf
"กำหนดให้กรุงเทพมหานครและจังหวัด เป็นเขตบริการเทียบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 695 แห่ง ทำหน้าที่เทียบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน"
ข้อนี้หมายความว่า ผู้ที่ประกอบอาชีอยู่ในเขตจังหวัดใด สามารถสมัครเทียบระดับใน กศน.อำเภอใดก็ได้ ที่ทำหน้าที่เทียบระดับในจังหวัดนั้น ไม่จำเป็นต้องสมัครเทียบระดับเฉพาะในอำเภอที่ประกอบอาชีพ ขอเพียงเป็นจังหวัดที่ประกอบอาชีพ และเมื่อสมัครที่อำเภอใด ก็ดำเนินการเทียบระดับโดยอำเภอนั้น ไม่ต้องให้อำเภอที่ประกอบอาชีพอยู่เป็นผู้ดำเนินการเทียบระดับ
( เดิมเขตบริการของแต่ละแห่งจะกำหนดเพียงประมาณ 2 อำเภอ ก็ต้องประกอบอาชีพอยู่ภายใน 2 อำเภอนั้น เช่น กศน.อ.ผักไห่ทำหน้าที่เทียบระดับในเขตบริการอำเภอผักไห่กับอำเภอบางซ้าย ผู้ที่ประกอบอาชีพอยู่ภายในเขตอำเภอผักไห่กับอำเภอบางซ้ายก็ต้องมาสมัครที่อำเภอผักไห่เท่านั้น ( ดูในประกาศฉบับเก่า ) แต่ประกาศฉบับใหม่นี้ ให้ทั้งจังหวัดเป็นเขตบริการเดียว คือผู้ที่ประกอบอาชีพอยู่ในจังหวัดใด ให้สมัครในอำเภอใดก็ได้ที่ทำหน้าที่เทียบระดับในจังหวัดนั้น ( ส่วนใหญ่เขาต้องการสมัครในอำเภอที่เขาอยู่อาศัย ) ส่วนการประเมินภาคประสบการณ์ก็ประเมินโดยอำเภอ สอบภาคทฤษฎีสอบโดยจังหวัด
"กำหนดให้กรุงเทพมหานครและจังหวัด เป็นเขตบริการเทียบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 695 แห่ง ทำหน้าที่เทียบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน"
ข้อนี้หมายความว่า ผู้ที่ประกอบอาชีอยู่ในเขตจังหวัดใด สามารถสมัครเทียบระดับใน กศน.อำเภอใดก็ได้ ที่ทำหน้าที่เทียบระดับในจังหวัดนั้น ไม่จำเป็นต้องสมัครเทียบระดับเฉพาะในอำเภอที่ประกอบอาชีพ ขอเพียงเป็นจังหวัดที่ประกอบอาชีพ และเมื่อสมัครที่อำเภอใด ก็ดำเนินการเทียบระดับโดยอำเภอนั้น ไม่ต้องให้อำเภอที่ประกอบอาชีพอยู่เป็นผู้ดำเนินการเทียบระดับ
( เดิมเขตบริการของแต่ละแห่งจะกำหนดเพียงประมาณ 2 อำเภอ ก็ต้องประกอบอาชีพอยู่ภายใน 2 อำเภอนั้น เช่น กศน.อ.ผักไห่ทำหน้าที่เทียบระดับในเขตบริการอำเภอผักไห่กับอำเภอบางซ้าย ผู้ที่ประกอบอาชีพอยู่ภายในเขตอำเภอผักไห่กับอำเภอบางซ้ายก็ต้องมาสมัครที่อำเภอผักไห่เท่านั้น ( ดูในประกาศฉบับเก่า ) แต่ประกาศฉบับใหม่นี้ ให้ทั้งจังหวัดเป็นเขตบริการเดียว คือผู้ที่ประกอบอาชีพอยู่ในจังหวัดใด ให้สมัครในอำเภอใดก็ได้ที่ทำหน้าที่เทียบระดับในจังหวัดนั้น ( ส่วนใหญ่เขาต้องการสมัครในอำเภอที่เขาอยู่อาศัย ) ส่วนการประเมินภาคประสบการณ์ก็ประเมินโดยอำเภอ สอบภาคทฤษฎีสอบโดยจังหวัด
2.
ผมตอบว่า วันอนุมัติจบ
ของแต่ละแห่ง ไม่เหมือนกัน
โดยอนุมัติจบได้ตั้งแต่วันถัดจากวันสุดท้ายของการสัมมนาวิชาการ
3. วันที่ 10
ม.ค.56 คุณอุดมพร ครูอาสาฯ กศน.อ.บางปะหัน ขอผมผ่านเฟซบุ๊ค
ว่า ขอหนังสือที่ให้ออกคำสั่งตั้งครูอาสาฯ
เป็นหัวหน้า กศน.ตำบล
ผมตอบว่า อยู่ในหน้าสุดท้าย
บรรทัดสุดท้าย ของแนวนโยบายฯ ที่ https://dl.dropboxusercontent.com/u/109014048/PDF/Practice10Dec57.pdf กำหนดว่า “ให้แต่งตั้งหัวหน้า กศน.ตำบล ให้ครบทุกตำบล
โดยคัดเลือกจากครูอาสาสมัครเป็นอันดับแรก”
4. วันเสาร์ที่
11 ม.ค.56 ผมเผยแพร่ในเฟซบุ๊ค ว่า คำถามของผู้ประเมินฯภายนอก ในตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ที่ครูผู้สอนควรเตรียมคำตอบไว้ คือ
1)
ทำไมท่านต้องกำหนดเป้าหมาย ( จุดประสงค์, ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ) ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน
2) ท่านได้กำหนดเป้าหมายตามข้อ 1 ไว้แล้วหรือไม่ อย่างไร
3) ท่านคิดว่า การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล สร้างภาระงานให้ครูหรือไม่ อย่างไร
4) ท่านได้ดำเนินการวิเคราะห์ผู้เรียนหรือไม่
5) ท่านนำผลการวิเคราะห์ไปดำเนินการอะไรบ้าง
6) ท่านคิดว่าการออกแบบการเรียนรู้ แตกต่างจากการเขียนแผนการสอนอย่างไร
7) ท่านสอนวิชาใด แผนการสอนของท่านได้มาจากวิธีการใด
8) ท่านมีวิธีการจัดบรรยากาศชั้นเรียนให้เอื้อต่อผู้เรียน อย่างไร
9) ท่านใช้สื่อประกอบการสอนหรือไม่ มีอะไรบ้าง
10) ท่านมีวิธีการประเมินความก้าวหน้าผู้เรียนหรือไม่ อย่างไร
11) ท่านมีวิธีสรุปความก้าวหน้าของผู้เรียนหรือไม่ อย่างไร
12) ท่านกำหนดแหล่งข้อมูลที่จะใช้เพื่อการวางแผนซ่อมเสริมผู้เรียนหรือไม่ อย่างไร
13) ท่านมีการจำแนกผู้เรียนก่อนจัดซ่อมเสริมหรือไม่ อย่างไร
14) ในปีการศึกษาที่ผ่านมา ท่านทำวิจัยกี่เรื่อง เรื่องอะไรบ้าง
15) ที่มาของงานวิจัยนี้ ท่านได้ใช้ข้อมูลจากแหล่งใด
16) ผลการวิจัยของท่านครั้งนี้เป็นอย่างไร
2) ท่านได้กำหนดเป้าหมายตามข้อ 1 ไว้แล้วหรือไม่ อย่างไร
3) ท่านคิดว่า การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล สร้างภาระงานให้ครูหรือไม่ อย่างไร
4) ท่านได้ดำเนินการวิเคราะห์ผู้เรียนหรือไม่
5) ท่านนำผลการวิเคราะห์ไปดำเนินการอะไรบ้าง
6) ท่านคิดว่าการออกแบบการเรียนรู้ แตกต่างจากการเขียนแผนการสอนอย่างไร
7) ท่านสอนวิชาใด แผนการสอนของท่านได้มาจากวิธีการใด
8) ท่านมีวิธีการจัดบรรยากาศชั้นเรียนให้เอื้อต่อผู้เรียน อย่างไร
9) ท่านใช้สื่อประกอบการสอนหรือไม่ มีอะไรบ้าง
10) ท่านมีวิธีการประเมินความก้าวหน้าผู้เรียนหรือไม่ อย่างไร
11) ท่านมีวิธีสรุปความก้าวหน้าของผู้เรียนหรือไม่ อย่างไร
12) ท่านกำหนดแหล่งข้อมูลที่จะใช้เพื่อการวางแผนซ่อมเสริมผู้เรียนหรือไม่ อย่างไร
13) ท่านมีการจำแนกผู้เรียนก่อนจัดซ่อมเสริมหรือไม่ อย่างไร
14) ในปีการศึกษาที่ผ่านมา ท่านทำวิจัยกี่เรื่อง เรื่องอะไรบ้าง
15) ที่มาของงานวิจัยนี้ ท่านได้ใช้ข้อมูลจากแหล่งใด
16) ผลการวิจัยของท่านครั้งนี้เป็นอย่างไร
ใครสนใจตัวอย่างการตอบคำถาม 16 ข้อนี้ ดูได้ที่
https://dl.dropboxusercontent.com/u/109014048/PDF/exampleAnswer.pdf
https://dl.dropboxusercontent.com/u/109014048/PDF/exampleAnswer.pdf
5. และเมื่อวันที่ 12 ส.ค.56
คุณจิดาภา ครูอาสาฯ กศน.อ.ผักไห่ ก็ถามผมว่า เข็มวิทยพัฒน์ กับ เข็มเชิดชูเกียรติ ประดับตรงไหนของเครื่องแบบเสื้อสีขาว
ผมตอบว่า
ประดับที่กระเป๋าเสื้อด้านขวา ถ้าเป็นเครื่องแบบสีขาวของสตรีไม่มีกระเป๋าเสื้อ
ก็ประดับที่อกเสื้อด้านขวา ประดับเข็มที่มีศักดิ์สูงกว่าเข็มเดียวก็พอ
โดยผมบอกว่าเข็มเชิดชูเกียรติมีศักดิ์สูงกว่า
เพราะเข็มวิทยพัฒน์แสดงว่าผ่านการอบรมพัฒนาเท่านั้น แต่เข็มเชิดชูเกียรติแสดงว่ารับราชการมาเป็นเวลานาน
ซึ่งย่อมจะต้องเคยผ่านการอบรมพัฒนามาด้วยแล้ว
ในการประดับเข็มนี้ ถึงแม้ว่า เข็มวิทยพัฒน์กับเข็มเชิดชูเกียรติของ กศน. จะยังไม่มีระเบียบ/ประกาศ/ข้อบังคับ รองรับที่ชัดเจน แต่คุณณัฐมน กลุ่มพัฒนา กศน. บอกผม ( ตั้งแต่ยังอยู่ กป.กศน. ) ว่า ประดับได้
( ผมเคยเขียนเรื่องนี้ไว้ในข้อ 4 ที่ http://www.gotoknow.org/posts/485388 )
ในการประดับเข็มนี้ ถึงแม้ว่า เข็มวิทยพัฒน์กับเข็มเชิดชูเกียรติของ กศน. จะยังไม่มีระเบียบ/ประกาศ/ข้อบังคับ รองรับที่ชัดเจน แต่คุณณัฐมน กลุ่มพัฒนา กศน. บอกผม ( ตั้งแต่ยังอยู่ กป.กศน. ) ว่า ประดับได้
( ผมเคยเขียนเรื่องนี้ไว้ในข้อ 4 ที่ http://www.gotoknow.org/posts/485388 )
6. คืนวันที่
16 ม.ค.56 ผมเผยแพร่ ว่า
1) แก้ไขการอ่านคะแนนภาคทฤษฎีจากแฟ้มคะแนนสอบ (เมนูหลัก 3 ย่อย 1) ที่อ่านคะแนนไม่ได้ถ้ารหัสสถานศึกษาในแฟ้มคะแนนไม่ตรงกับรหัสสถานศึกษาในโปรแกรม (รหัสสถานศึกษาของอำเภอส่วนใหญ่ที่ส่งไปให้ สทศ. ไม่ตรงกับในโปรแกรม)
ในกรณีนี้โปรแกรมจะเปลี่ยนไปเช็คจากชื่อสถานศึกษาในแฟ้มข้อมูลแทน ถ้าตรงกันจะอ่านคะแนนเข้าไปได้
2) แก้ไขการบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีรอบสอง (เมนูหลัก 3 ย่อย 2) ในส่วนวิชาภาษาไทยและคณิตศาสตร์ที่มีปัญหาไม่สามารถบันทึกคะแนนได้ในบางกรณี
3) แก้ไขรายงานสถิติผลการสอบ (เมนูหลัก 3 ย่อย 1-6) ที่แสดงผลจำนวนผู้มีสิทธิสอบรอบสองไม่ถูกต้อง
4) แก้ไขรายงานสั่งข้อสอบภาคทฤษฎี (เมนูหลัก 2 ย่อย 8) ปรับรูปแบบไฟล์ที่บันทึกเป็น excel ใหม่ โดยเพิ่มรหัสสถานศึกษาและเลขบัตรประชาชน
5) เพิ่มแบบฟอร์มหนังสือรับรองของนายจ้าง/ผู้บังคับบัญชา (เมนูหลัก 5 ย่อย 2)
6) แก้ไขการติดตั้ง/ถอนการติดตั้งโปรแกรม ไม่ให้ลบแบบฟอร์มต่างๆที่ได้แก้ไขไปแล้ว (เช่นใบ รบ. ใบประกาศนียบัตร)
7) แก้ไขการสร้างแบบรวบรวมคะแนนภาคประสบการณ์ ไม่นำคนที่ผ่านวิชานั้นมาแสดงในแบบรวบรวมคะแนน
8) ปรับแก้ไขผลสอบของวิชาภาษาไทยและคณิตศาสตร์ทั้งสองรอบให้ถูกต้อง (คะแนนที่อยู่ในช่วง 50-59 ปรับให้เป็นไม่ผ่าน)
9) แก้ไขรายงานสรุปผลการประเมินภาคทฤษฎี เพิ่มตัวเลือกคะแนนสอบทั้งสองรอบและตัวเลือกขอบเขตข้อมูล
link สำหรับ download โปรแกรมติดตั้ง
https://dl.dropboxusercontent.com/u/15540884/KSM_Setup.zip หรือ
https://drive.google.com/file/d/0B6tQobXfGWLEYXFqR1EwYUFUUTg/edit?usp=sharing
https://dl.dropboxusercontent.com/u/15540884/KSM_Setup.zip หรือ
https://drive.google.com/file/d/0B6tQobXfGWLEYXFqR1EwYUFUUTg/edit?usp=sharing
link สำหรับ dawnload คู่มือการใช้โปรแกรม
https://dl.dropboxusercontent.com/u/15540884/KSM_Manual.pdf
https://dl.dropboxusercontent.com/u/15540884/KSM_Manual.pdf
7. คืนวันที่ 17
ม.ค.57 ผมเผยแพร่เรื่อง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ส่วนใหญ่ก็จะมีคุณสมบัติที่ต่ออายุได้ แต่ก็ไม่ใช่ 100 % เต็ม
การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
จะต้องมีคุณสมบัติครบ 3 ด้าน คือ
ก.ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ( วุฒิ ) ข.ด้านการปฏิบัติงาน ( การพัฒนาตนเองที่ผ่านมา
) และ ค.ด้านการประพฤติตนตามจรรยาบรรณ
ถ้าเป็นการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ครู จะมีรายละเอียดใน 3 ด้าน ดังนี้
ถ้าเป็นการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ครู จะมีรายละเอียดใน 3 ด้าน ดังนี้
ก. ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
( วุฒิ )
ต้องมีคุณสมบัติ อย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้
(1) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า เช่น กศ.บ. ค.บ. ค.อ.บ. ศษ.บ.( ไม่ใช่ ศศ.บ.) หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
(2) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และมีวุฒิประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) ที่คุรุสภารับรองหรืออยู่ในระหว่างศึกษาตามหลักสูตรดังกล่าว
(3) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และมีวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (ปวค.) ที่สำเร็จการศึกษาก่อนวันที่ 9 เม.ย.52
(4) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และผ่านการรับรองความรู้ตามมาตรฐานความรู้วิชาชีพครูของคุรุสภา (ทดสอบ-ฝึกอบรม-เทียบโอน) ครบ 9 มาตรฐาน หรืออยู่ในระหว่างการเสนอขอรับรอง
(5) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และได้ศึกษาความรู้วิชาชีพครูจำนวน ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
(6) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และมีประสบการณ์ในการสอนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปี
(7) มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี และมีประสบการณ์ในการสอนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรืออยู่ในระหว่างศึกษาให้มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษาที่คุรุสภารับรอง
ต้องมีคุณสมบัติ อย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้
(1) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า เช่น กศ.บ. ค.บ. ค.อ.บ. ศษ.บ.( ไม่ใช่ ศศ.บ.) หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
(2) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และมีวุฒิประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) ที่คุรุสภารับรองหรืออยู่ในระหว่างศึกษาตามหลักสูตรดังกล่าว
(3) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และมีวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (ปวค.) ที่สำเร็จการศึกษาก่อนวันที่ 9 เม.ย.52
(4) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และผ่านการรับรองความรู้ตามมาตรฐานความรู้วิชาชีพครูของคุรุสภา (ทดสอบ-ฝึกอบรม-เทียบโอน) ครบ 9 มาตรฐาน หรืออยู่ในระหว่างการเสนอขอรับรอง
(5) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และได้ศึกษาความรู้วิชาชีพครูจำนวน ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
(6) มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี และมีประสบการณ์ในการสอนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปี
(7) มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี และมีประสบการณ์ในการสอนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรืออยู่ในระหว่างศึกษาให้มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษาที่คุรุสภารับรอง
ผู้ที่ไม่มีวุฒิการศึกษาหรือคุณวุฒิและประสบการณ์วิชาชีพตามข้างต้น
ให้นำเสนอคณะกรรมการคุรุสภาพิจารณาอนุมัติเป็นรายกรณี
จะเห็นว่า
ถึงแม้จะไม่มีวุฒิทางการศึกษาตามคุณสมบัติข้อ (1) แต่ถ้ามีคุณสมบัติตามข้อ
(2) - (7) ข้อใดข้อหนึ่ง ก็ได้
ข. ด้านการปฏิบัติงาน ( การพัฒนาตนเองที่ผ่านมา )
ใน 5 ปีที่ผ่านมา ต้องทำกิจกรรมการพัฒนาเกี่ยวกับงานในหน้าที่ หรือมีกิจกรรมที่แสดงการเพิ่มพูนสมรรถนะในงาน อย่างน้อย 3 ใน 12 กิจกรรมต่อไปนี้
(1) เข้ารับการศึกษาให้มีวุฒิเพิ่มขึ้นในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(2) เข้ารับการอบรมและได้รับวุฒิบัตรแสดงความชำนาญการในการประกอบวิชาชีพจากคุรุสภา
(3) ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่
(4) ผ่านการประเมินเพื่อให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้น หรือ อยู่ระหว่างการพิจารณาประเมิน
(5) เป็นวิทยากรในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษา
(6) เขียนตำรา บทความ ผลงานทางวิชาการในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา
(7) สร้างนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ หรือที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา
(8) ทำวิจัยในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้และการศึกษา
(9) ได้รับรางวัลจากคุรุสภา หรือจากหน่วยงานทางการศึกษาอื่น
(10) เข้าฟังการบรรยาย อภิปราย ประชุมปฏิบัติการ ประชุมสัมมนาหรืออื่น ๆ โดยมีการลงทะเบียนและมีหลักฐานแสดงการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว
(11) ศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(12) จัดทำผลงานหรือกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษา
ใน 5 ปีที่ผ่านมา ต้องทำกิจกรรมการพัฒนาเกี่ยวกับงานในหน้าที่ หรือมีกิจกรรมที่แสดงการเพิ่มพูนสมรรถนะในงาน อย่างน้อย 3 ใน 12 กิจกรรมต่อไปนี้
(1) เข้ารับการศึกษาให้มีวุฒิเพิ่มขึ้นในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(2) เข้ารับการอบรมและได้รับวุฒิบัตรแสดงความชำนาญการในการประกอบวิชาชีพจากคุรุสภา
(3) ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่
(4) ผ่านการประเมินเพื่อให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้น หรือ อยู่ระหว่างการพิจารณาประเมิน
(5) เป็นวิทยากรในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษา
(6) เขียนตำรา บทความ ผลงานทางวิชาการในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา
(7) สร้างนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ หรือที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา
(8) ทำวิจัยในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้และการศึกษา
(9) ได้รับรางวัลจากคุรุสภา หรือจากหน่วยงานทางการศึกษาอื่น
(10) เข้าฟังการบรรยาย อภิปราย ประชุมปฏิบัติการ ประชุมสัมมนาหรืออื่น ๆ โดยมีการลงทะเบียนและมีหลักฐานแสดงการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว
(11) ศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(12) จัดทำผลงานหรือกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษา
ค. ด้านการประพฤติตนตามจรรยาบรรณ
ด้านนี้คงไม่มีปัญหา เพราะให้รับรองตนเองว่าได้ประพฤติตนตามจรรยาบรรณ
ด้านนี้คงไม่มีปัญหา เพราะให้รับรองตนเองว่าได้ประพฤติตนตามจรรยาบรรณ
การขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และ ศึกษานิเทศก์ สามารถยื่นได้ 4 ช่องทาง
โดยเลือกช่องทางใดช่องทางหนึ่ง ดังต่อไปนี้
1) ยื่นผ่านสถานศึกษา/หน่วยงานทางการศึกษาที่ตนสังกัด โดยสถานศึกษาใช้โปรแกรมการต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (KSP Renew) และ Upload ผ่านระบบ Internet
ผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตฯ ส่งแบบคำขอฯ (คส. 02) และแบบแสดงคุณสมบัติฯ (ของครูคือ คส. 02.10) ที่รับรองคุณสมบัติเรียบร้อยแล้ว พร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ และใบเสร็จค่าธรรมเนียมต่ออายุใบอนุญาตฯ ( 200 บาท ) ณ สถานศึกษาที่สังกัด เพื่อดำเนินการต่อไป
2) ยื่นผ่านคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษา
3) ยื่น ณ สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา กทม.
4) ยื่นผ่านทางไปรษณีย์ ( มักจะเงียบหาย เพราะถ้าเอกสารหลักฐานไม่ถูกต้องครบถ้วน คุรุสภาจะไม่แจ้งให้ทราบ เนื่องจากผู้ยื่นมีจำนวนมาก ผู้ยื่นต้องติดตาม/ติดต่อสอบถามเอง )
1) ยื่นผ่านสถานศึกษา/หน่วยงานทางการศึกษาที่ตนสังกัด โดยสถานศึกษาใช้โปรแกรมการต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (KSP Renew) และ Upload ผ่านระบบ Internet
ผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตฯ ส่งแบบคำขอฯ (คส. 02) และแบบแสดงคุณสมบัติฯ (ของครูคือ คส. 02.10) ที่รับรองคุณสมบัติเรียบร้อยแล้ว พร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ และใบเสร็จค่าธรรมเนียมต่ออายุใบอนุญาตฯ ( 200 บาท ) ณ สถานศึกษาที่สังกัด เพื่อดำเนินการต่อไป
2) ยื่นผ่านคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษา
3) ยื่น ณ สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา กทม.
4) ยื่นผ่านทางไปรษณีย์ ( มักจะเงียบหาย เพราะถ้าเอกสารหลักฐานไม่ถูกต้องครบถ้วน คุรุสภาจะไม่แจ้งให้ทราบ เนื่องจากผู้ยื่นมีจำนวนมาก ผู้ยื่นต้องติดตาม/ติดต่อสอบถามเอง )
ถาม
: ใครเป็นผู้รับรองการขอต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ตอบ : กรณีผู้อำนวยการสถานศึกษาไม่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษารับรองตนเอง กรณีครู ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาเป็นผู้รับรอง
ตอบ : กรณีผู้อำนวยการสถานศึกษาไม่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษารับรองตนเอง กรณีครู ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาเป็นผู้รับรอง
ถาม
: ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา
และศึกษานิเทศก์ ซึ่งมีใบประกอบวิชาชีพ 2 ใบ คือ
ใบอนุญาตตามสถานภาพของผู้ประกอบวิชาชีพ และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ให้ต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทั้ง 2 ใบหรือไม่
ตอบ : ให้ยื่นคำขอต่อใบอนุญาตตามสถานภาพของผู้ประกอบวิชาชีพนั้น เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องยื่นขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ส่วนจะต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูด้วยหรือไม่ ให้เป็นไปตามความประสงค์ของผู้ถือใบอนุญาตที่พิจารณาว่ามีความจำเป็นต้องต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูด้วยหรือไม่
ตอบ : ให้ยื่นคำขอต่อใบอนุญาตตามสถานภาพของผู้ประกอบวิชาชีพนั้น เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องยื่นขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ส่วนจะต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูด้วยหรือไม่ ให้เป็นไปตามความประสงค์ของผู้ถือใบอนุญาตที่พิจารณาว่ามีความจำเป็นต้องต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูด้วยหรือไม่
ถาม
: หลักฐานการขอต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพส่งให้คุรุสภาหรือไม่
ตอบ : หลักฐานการขอต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพไม่ต้องส่งไปให้คุรุสภา แต่ให้เก็บรวบรวมไว้ที่เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานในกรณีที่คุรุสภาต้องการตรวจสอบ
ตอบ : หลักฐานการขอต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพไม่ต้องส่งไปให้คุรุสภา แต่ให้เก็บรวบรวมไว้ที่เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานในกรณีที่คุรุสภาต้องการตรวจสอบ
ดูรายละเอียดใน
คู่มือการปฏิบัติงานการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ที่
https://dl.dropboxusercontent.com/u/109014048/PDF/Renewmanuallicense.pdf
https://dl.dropboxusercontent.com/u/109014048/PDF/Renewmanuallicense.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อสงสัย