สัปดาห์นี้มีเรื่องที่คิดว่าน่าสนใจ
ขอเลือกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7 เรื่อง ดังนี้
1. หลายปีก่อน ( ช่วงกฐิน กศน. หาดใหญ่ ) ผอ.กศน.อำเภอ 6 ท่าน เดินทางไปประชุมฯด้วยกัน โดยเหมารถตู้
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการนั้น เนื่องจากอยู่คนละอำเภอ และต้องเบิกจากงบอำเภอ แต่รถตู้คันเดียว ตอนนั้นไม่รู้วิธีว่าจะเบิกอย่างไร จะให้ใครเบิกค่ารถตู้จากอำเภอใด ดังนั้นเพื่อความสะดวก จึงขออนุญาตเดินทางโดยรถส่วนตัวและเบิกเป็นใช้รถส่วนตัว ซึ่งก็เบิกเงินได้ต่างจากค่ารถตู้ไม่มากมายอะไรเลย
1. หลายปีก่อน ( ช่วงกฐิน กศน. หาดใหญ่ ) ผอ.กศน.อำเภอ 6 ท่าน เดินทางไปประชุมฯด้วยกัน โดยเหมารถตู้
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการนั้น เนื่องจากอยู่คนละอำเภอ และต้องเบิกจากงบอำเภอ แต่รถตู้คันเดียว ตอนนั้นไม่รู้วิธีว่าจะเบิกอย่างไร จะให้ใครเบิกค่ารถตู้จากอำเภอใด ดังนั้นเพื่อความสะดวก จึงขออนุญาตเดินทางโดยรถส่วนตัวและเบิกเป็นใช้รถส่วนตัว ซึ่งก็เบิกเงินได้ต่างจากค่ารถตู้ไม่มากมายอะไรเลย
แต่เหตุการณ์ครั้งนั้น
ทำให้ถูกสอบสวนลงโทษ และมีการอุทธรณ์ เรื่อยมา จนถึงตอนนี้ ได้ข่าวว่าสรุปจบจาก
กพ.แล้ว “ปลดออก” ทั้ง 6 ท่าน
ผมเห็นใจหลายท่านมาก ยังหนุ่มยังสาว อนาคตน่าจะยังอีกยาวไกล
ผมโพสต์ครั้งนี้ เพื่อเป็นอุทาหรณ์ แก่คนอื่น ๆ และ
ขอส่งกำลังใจให้ทั้ง 6 ท่าน อย่าคิดอะไรมาก เมื่อเรารู้ตัวดีว่า เรามิได้มีเจตนาจะโกงกินเงินเลย เราเพียงแต่ใช้วิธีเบิกจ่ายที่สะดวก มีส่วนต่างเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย
ก็ขอให้ภาคภูมิใจในการทำงานและผลงานต่าง ๆ มากมายของท่านต่อไป คิดเสียว่าได้เออรี่ ได้พักเร็วขึ้น ได้พ้นจากระบบงานหยุมหยิมแล้ว
( ทุกวันนี้ผมเองก็สบายใจ ดีใจ ที่ไม่ต้องไปทำงานทุกวัน แต่ได้บำนาญทุกเดือน ผมคิดว่าถ้ารู้ว่าดีอย่างนี้ผมน่าจะเออรี่นานแล้ว )
2. วันหยุดชดเชย 15 ต.ค.61 มีครู กศน.ตำบล ถามผมทางไลน์ ว่า นศ.มาจาก สปป.ลาว เป็นวุฒิ ป.6 ( ตามภาพประกอบโพสต์นี้ ) สมัครกับ กศน.ได้เลยเปล่า
ผมเห็นใจหลายท่านมาก ยังหนุ่มยังสาว อนาคตน่าจะยังอีกยาวไกล
ผมโพสต์ครั้งนี้ เพื่อเป็นอุทาหรณ์ แก่คนอื่น ๆ และ
ขอส่งกำลังใจให้ทั้ง 6 ท่าน อย่าคิดอะไรมาก เมื่อเรารู้ตัวดีว่า เรามิได้มีเจตนาจะโกงกินเงินเลย เราเพียงแต่ใช้วิธีเบิกจ่ายที่สะดวก มีส่วนต่างเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย
ก็ขอให้ภาคภูมิใจในการทำงานและผลงานต่าง ๆ มากมายของท่านต่อไป คิดเสียว่าได้เออรี่ ได้พักเร็วขึ้น ได้พ้นจากระบบงานหยุมหยิมแล้ว
( ทุกวันนี้ผมเองก็สบายใจ ดีใจ ที่ไม่ต้องไปทำงานทุกวัน แต่ได้บำนาญทุกเดือน ผมคิดว่าถ้ารู้ว่าดีอย่างนี้ผมน่าจะเออรี่นานแล้ว )
2. วันหยุดชดเชย 15 ต.ค.61 มีครู กศน.ตำบล ถามผมทางไลน์ ว่า นศ.มาจาก สปป.ลาว เป็นวุฒิ ป.6 ( ตามภาพประกอบโพสต์นี้ ) สมัครกับ กศน.ได้เลยเปล่า
ผมตอบว่า วุฒิจากต่างประเทศ ที่จะนำมาใช้ จะมี 2 กรณี คือ
1) ใช้เป็น “วุฒิเดิม” ( จบหลักสูตรระดับชั้นตัวประโยค เช่น ป.6-7, ม.ต้นหรือ ม.3, ม.ปลายหรือ ม.6 ) เพื่อเป็นหลักฐานสมัครเรียนในระดับที่สูงขึ้นเลย เช่นใช้สมัครเข้าเรียน ม.ต้น หรือ ม.ปลาย
2) ใช้เทียบโอนเป็นรายวิชาบางวิชา ในกรณีที่จบระหว่างชั้นตัวประโยค เช่นเรียนผ่านเกรด 8 มา.. ถ้าจบเกรด 9 จะเทียบเท่า ม.ต้น ใช้สมัครเรียนต่อ ม.ปลาย แต่ถ้าจบเกรด 8 ต่ำกว่า ม.ต้น สูงกว่า ป.6 อย่างนี้เขาต้องมีวุฒิประถมมาสมัครเรียน ม.ต้น แล้วจึงใช้หลักฐานเกรด 8 นี้ เทียบโอนเป็นบางวิชาในระดับ ม.ต้น เพื่อไม่ต้องเรียนในบางวิชาของ ม.ต้น จะได้จบ ม.ต้น เร็ว
ผมเคยโพสต์ตอบเรื่องนี้ 3 ครั้งแล้ว แต่บางคนก็ยังไม่เข้าใจความแตกต่างของ การเทียบวุฒิ กับ การเทียบโอน ถ้าไม่เข้าใจความแตกต่างนี้ ถึงจะถาม-ตอบอีกกี่ครั้งก็ไม่เข้าใจ
- ถ้าจะใช้เป็น “วุฒิเดิม” ( จบชั้นตัวประโยคมา ) เขาต้องไปผ่านการเทียบวุฒิมาก่อน จะนำใบวุฒิของต่างประเทศมาใช้กับ กศน.เราไม่ได้นะ
กศน.เราไม่มีอำนาจบทบาทหน้าที่ในการเทียบวุฒิจากต่างประเทศ ถ้าเป็นวุฒิระดับปริญญา เขาต้องไปขอเทียบวุฒิที่ ก.พ. แต่ถ้าเป็นวุฒิระดับ ม.ต้น ม.ปลาย เขาต้องไปติดต่อขอเทียบวุฒิที่ สพฐ.มาก่อน ( สำนักงาน สพฐ.ที่ทำหน้าที่เทียบวุฒิจากต่างประเทศนี้ อยู่ในกระทรวง ศธ. ใกล้กับ กศน.) แล้วจึงนำหลักฐานการเทียบวุฒินั้น มาใช้เป็นวุฒิเดิมสมัครเรียนระดับต่อไปกับเรา
- แต่ถ้าจะใช้เทียบโอนเป็นรายวิชา เช่น มีหลักฐานการผ่านเกรด 11 และมีใบวุฒิ ม.ต้นของไทยหรือ วุฒิต่างประเทศที่เทียบเป็นวุฒิ ม.ต้นกับ สพฐ.แล้ว ก็นำวุฒิ ม.ต้น มาสมัครเรียน ม.ปลายกับเรา แล้วจึงใช้หลักฐานการผ่านเกรด 11 เทียบโอนเป็นบางวิชา เพื่อจะได้เรียนจบ ม.ปลาย เร็วขึ้น
กรณีการใช้เทียบโอนนี้ ถ้าคณะกรรมการเทียบโอนพิจารณาไม่ได้ อาจให้เขานำหลักฐานการผ่านเกรด 11 ไปให้สถาบันแปลภาษา แปลเป็นภาษาไทยมาก่อน ประทับตราสถาบันแปลรับรองมาด้วย แล้วเราก็ใช้พิจารณาเทียบโอนรายวิชา
1) ใช้เป็น “วุฒิเดิม” ( จบหลักสูตรระดับชั้นตัวประโยค เช่น ป.6-7, ม.ต้นหรือ ม.3, ม.ปลายหรือ ม.6 ) เพื่อเป็นหลักฐานสมัครเรียนในระดับที่สูงขึ้นเลย เช่นใช้สมัครเข้าเรียน ม.ต้น หรือ ม.ปลาย
2) ใช้เทียบโอนเป็นรายวิชาบางวิชา ในกรณีที่จบระหว่างชั้นตัวประโยค เช่นเรียนผ่านเกรด 8 มา.. ถ้าจบเกรด 9 จะเทียบเท่า ม.ต้น ใช้สมัครเรียนต่อ ม.ปลาย แต่ถ้าจบเกรด 8 ต่ำกว่า ม.ต้น สูงกว่า ป.6 อย่างนี้เขาต้องมีวุฒิประถมมาสมัครเรียน ม.ต้น แล้วจึงใช้หลักฐานเกรด 8 นี้ เทียบโอนเป็นบางวิชาในระดับ ม.ต้น เพื่อไม่ต้องเรียนในบางวิชาของ ม.ต้น จะได้จบ ม.ต้น เร็ว
ผมเคยโพสต์ตอบเรื่องนี้ 3 ครั้งแล้ว แต่บางคนก็ยังไม่เข้าใจความแตกต่างของ การเทียบวุฒิ กับ การเทียบโอน ถ้าไม่เข้าใจความแตกต่างนี้ ถึงจะถาม-ตอบอีกกี่ครั้งก็ไม่เข้าใจ
- ถ้าจะใช้เป็น “วุฒิเดิม” ( จบชั้นตัวประโยคมา ) เขาต้องไปผ่านการเทียบวุฒิมาก่อน จะนำใบวุฒิของต่างประเทศมาใช้กับ กศน.เราไม่ได้นะ
กศน.เราไม่มีอำนาจบทบาทหน้าที่ในการเทียบวุฒิจากต่างประเทศ ถ้าเป็นวุฒิระดับปริญญา เขาต้องไปขอเทียบวุฒิที่ ก.พ. แต่ถ้าเป็นวุฒิระดับ ม.ต้น ม.ปลาย เขาต้องไปติดต่อขอเทียบวุฒิที่ สพฐ.มาก่อน ( สำนักงาน สพฐ.ที่ทำหน้าที่เทียบวุฒิจากต่างประเทศนี้ อยู่ในกระทรวง ศธ. ใกล้กับ กศน.) แล้วจึงนำหลักฐานการเทียบวุฒินั้น มาใช้เป็นวุฒิเดิมสมัครเรียนระดับต่อไปกับเรา
- แต่ถ้าจะใช้เทียบโอนเป็นรายวิชา เช่น มีหลักฐานการผ่านเกรด 11 และมีใบวุฒิ ม.ต้นของไทยหรือ วุฒิต่างประเทศที่เทียบเป็นวุฒิ ม.ต้นกับ สพฐ.แล้ว ก็นำวุฒิ ม.ต้น มาสมัครเรียน ม.ปลายกับเรา แล้วจึงใช้หลักฐานการผ่านเกรด 11 เทียบโอนเป็นบางวิชา เพื่อจะได้เรียนจบ ม.ปลาย เร็วขึ้น
กรณีการใช้เทียบโอนนี้ ถ้าคณะกรรมการเทียบโอนพิจารณาไม่ได้ อาจให้เขานำหลักฐานการผ่านเกรด 11 ไปให้สถาบันแปลภาษา แปลเป็นภาษาไทยมาก่อน ประทับตราสถาบันแปลรับรองมาด้วย แล้วเราก็ใช้พิจารณาเทียบโอนรายวิชา
หลักฐานตามภาพที่คุณยกมานั้น
ถ้าบอกว่าเป็นหลักฐานการจบระดับประถมของลาว จะใช้เป็นวุฒิเดิมสมัครเรียน ม.ต้นเลย
ไม่ได้ครับ ( ใบวุฒิต่างประเทศใช้เป็นวุฒิเดิมกับเราไม่ได้ ) เขาต้องไปเทียบวุฒิมาก่อน แต่ ปัจจุบัน สพฐ. ไม่รับเทียบวุฒิประถมแล้ว
รับเทียบแต่วุฒิ ม.ต้น ม.ปลาย
ฉะนั้น ถ้ายังไม่จบระดับ ม.ต้น ต้องมาเรียนประถมใหม่นะครับ สมัครเรียนประถมไม่ต้องใช้วุฒิเดิม เมื่อสมัครเรียนประถมแล้ว ใบนี้ก็อาจให้ใช้เทียบโอนเป็นบางวิชาจะได้เรียนจบประถมเร็วขึ้น หรือถ้าจะเรียนประถมใหม่หมดก็ไม่ต้องใช้ใบนี้
ฉะนั้น ถ้ายังไม่จบระดับ ม.ต้น ต้องมาเรียนประถมใหม่นะครับ สมัครเรียนประถมไม่ต้องใช้วุฒิเดิม เมื่อสมัครเรียนประถมแล้ว ใบนี้ก็อาจให้ใช้เทียบโอนเป็นบางวิชาจะได้เรียนจบประถมเร็วขึ้น หรือถ้าจะเรียนประถมใหม่หมดก็ไม่ต้องใช้ใบนี้
3. เช้ามืดวันที่ 18 ต.ค.61
มีครูอาสาฯถามผมทางไลน์ ว่า รอง.จังหวัดบอกว่า..ครูอาสา..จะไม่มีการสอบแทนตำแหน่งที่ว่าง..ออก
ตัดตำแหน่งเลย..จะปรับตำแหน่งเป็นนักวิชาการ.อำเภอละ1คน
แล้วอำเภอมีหลายคนทำไง..เลิกจ้างหรือ ถึงคราว..อวสานครูอาสา.
ผมตอบว่า
1) การเกลี่ยตำแหน่งครูอาสาฯให้เหลือเฉลี่ยอำเภอละ 1 คน ไม่ใช่เรื่องที่ใครจะต้องตกใจ เพราะไม่ได้จะเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด และ
การเกลี่ยแบบนี้อาจต้องใช้เวลาชั่วชีวิตคนจึงจะเหลือเฉลี่ยอำเภอละ 1 คน
เช่นเดียวกับการเกลี่ยตำแหน่งครู กศน.ตำบล ให้มีครบทุกตำบล ๆ ละ 1 คน เกลี่ยมาสิบปีแล้วก็ยังมีครู กศน.ตำบลไม่ครบทุกตำบล ( ไม่รู้ว่ามีบางจังหวัดที่มีครู กศน.ตำบลเกินกรอบ รีบบรรจุครู กศน.ตำบลใหม่เมื่อมีครู กศน.ตำบลออก โดยไม่แจ้งส่วนกลาง บางหรือเปล่า )
เพราะ การเกลี่ยจะบังคับจิตใจใครให้ย้ายหรือลาออกหรือเลิกจ้างโดยไม่มีเหตุผล ไม่ได้
( ให้เกลี่ยเฉพาะตำแหน่งว่าง )
ต้อง รอคอย จนกว่า จะมีครูอาสาฯ อายุครบ 60 ปี หรือลาออกด้วยความสมัครใจเช่นลาออกไปบรรจุเป็นข้าราชการ หรือ เสียชีวิต หรือทำความผิดวินัยทำงานไม่ผ่านประเมินถูกเลิกจ้าง
ถ้าครูอาสาฯคนใดไม่ “ลาออก-เกษียณ-ตาย-ทำไม่ดีถูกเลิกจ้าง” ก็เป็นครูอาสาฯต่อไปเรื่อย ๆ ไม่ต้องสนใจอะไร แม้ปัจจุบันจะมีครูอาสาฯมากก็ไม่ต้องสนใจ
2) ถ้า มีครูอาสาฯออกด้วยเหตุต่าง ๆ ตามข้อ 1) และจังหวัดนั้นมีจำนวนครูอาสาฯเกินจำนวนอำเภอ จังหวัดนั้นต้องขอเปลี่ยนตำแหน่งครูอาสาฯ ที่ว่างลงนั้น เป็นตำแหน่งอื่นที่เหมาะสม เช่นถ้าอำเภอไม่มีข้าราชการตำแหน่งบรรณารักษ์ ก็เปลี่ยนตำแหน่งครูอาสาฯที่ว่างเป็นพนักงานราชการตำแหน่งบรรณารักษ์ แล้วเลิกจ้างเหมาบริการตำแหน่งบรรณารักษ์ เป็นต้น
เปลี่ยนตำแหน่งแล้วอยู่ที่อำเภอเดิมหรือจะย้ายไปอยู่ที่อื่น จังหวัดก็คุยกับอำเภอแล้วจังหวัดเสนอส่วนกลาง
3) การที่มีนโยบายให้เกลี่ยตำแหน่งครูอาสาฯเป็นตำแหน่งอื่นนี้ มีเหตุผลที่
ตามกฏเกณฑ์ที่ตกลงไว้กับ ก.พ.ร.นั้น ตำแหน่งครูอาสาฯต้องมีหน้าที่เป็นครูผู้สอนนะครับ ถ้าเราบอกว่าปัจจุบันมีครู กศน.ตำบลแล้ว ครูอาสาฯไม่ต้องสอนแล้ว ก.พ.ร.จะให้ยุบ/เลิกจ้างตำแหน่งครูอาสาฯทั้งหมด
ถ้า ก.พ.ร.รู้ว่าครูอาสาฯในบางอำเภอไม่ได้ทำหน้าที่ครูผู้สอน จะมีปัญหา
จึงควรเปลี่ยนตำแหน่งครูอาสาฯเป็นตำแหน่งอื่นที่ทำหน้าที่ตรงกับชื่อตำแหน่ง
ไม่ใช่ว่า เมื่อตำแหน่งครูอาสาฯว่างลง ก็จ้างคนใหม่เป็นตำแหน่งครูอาสาฯอีก แต่ให้ทำงานต่าง ๆ อยู่ที่อำเภอ ไม่ต้องสอน โดยบอกว่า ถึงจะไม่ได้สอนแต่ฉันเป็นคนประเมิน ฉันให้ผ่านประเมิน ใครจะทำไม แบบนี้ถ้ามีผู้ร้องไปที่ ก.พ.ร. ครูอาสาฯทั้งประเทศอาจมีปัญหา ( ก.พ.ร.เคยยุบพนักงานราชการบางตำแหน่งของกระทรวงวัฒนธรรมและกรมป่าไม้แล้ว )
4. เช้าวันที่ 19 ต.ค.61 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ก ว่า ฉันเป็นครู กศน ตำบล อำเภอแก้งคร้อ มีข้อสงสัย เดือนเมษยน 2561 มี กศน ท่านนึงเสียชีวิตลง ทางกศน.จังหวัดได้ปนะกาศ ให้ครู กศน ตำบลย้ายพื้นที่แทนตำนั้น ฉันทำเรื่องย้ายไปแทน จังหวัดอนุมัติการย้ายแล้ว และจังหวัดได้ทำหนังสือแจ้งไปส่วนกลางแล้ว แต่ส่วนกลางยังไม่ตอบกลับ ขอถามว่า
ถ้าจังหวัดอนุมัติแล้วสามารถมาปฏิบัติบัติงานยังพื้นที่นั้นได้ไหม
2 ส่วนกลางจะมีหนังสือตอบกลับมาตอนไหน ต้องใช้เวลานานไหม
3 ผอ อำเถอ ก็อ้างว่ายังไม่มีหนังสือจากส่วนกลาง แต่ฉันมีความลำบาก ถ้าได้ย้าย ไปกลับก็สั้นลง 56 กิโลเมตร ค่านำ้มันเดือนนึงก็หลายบาท ทั้งค่าเล่าเรียนลูกอีก2 คน
1) การเกลี่ยตำแหน่งครูอาสาฯให้เหลือเฉลี่ยอำเภอละ 1 คน ไม่ใช่เรื่องที่ใครจะต้องตกใจ เพราะไม่ได้จะเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด และ
การเกลี่ยแบบนี้อาจต้องใช้เวลาชั่วชีวิตคนจึงจะเหลือเฉลี่ยอำเภอละ 1 คน
เช่นเดียวกับการเกลี่ยตำแหน่งครู กศน.ตำบล ให้มีครบทุกตำบล ๆ ละ 1 คน เกลี่ยมาสิบปีแล้วก็ยังมีครู กศน.ตำบลไม่ครบทุกตำบล ( ไม่รู้ว่ามีบางจังหวัดที่มีครู กศน.ตำบลเกินกรอบ รีบบรรจุครู กศน.ตำบลใหม่เมื่อมีครู กศน.ตำบลออก โดยไม่แจ้งส่วนกลาง บางหรือเปล่า )
เพราะ การเกลี่ยจะบังคับจิตใจใครให้ย้ายหรือลาออกหรือเลิกจ้างโดยไม่มีเหตุผล ไม่ได้
( ให้เกลี่ยเฉพาะตำแหน่งว่าง )
ต้อง รอคอย จนกว่า จะมีครูอาสาฯ อายุครบ 60 ปี หรือลาออกด้วยความสมัครใจเช่นลาออกไปบรรจุเป็นข้าราชการ หรือ เสียชีวิต หรือทำความผิดวินัยทำงานไม่ผ่านประเมินถูกเลิกจ้าง
ถ้าครูอาสาฯคนใดไม่ “ลาออก-เกษียณ-ตาย-ทำไม่ดีถูกเลิกจ้าง” ก็เป็นครูอาสาฯต่อไปเรื่อย ๆ ไม่ต้องสนใจอะไร แม้ปัจจุบันจะมีครูอาสาฯมากก็ไม่ต้องสนใจ
2) ถ้า มีครูอาสาฯออกด้วยเหตุต่าง ๆ ตามข้อ 1) และจังหวัดนั้นมีจำนวนครูอาสาฯเกินจำนวนอำเภอ จังหวัดนั้นต้องขอเปลี่ยนตำแหน่งครูอาสาฯ ที่ว่างลงนั้น เป็นตำแหน่งอื่นที่เหมาะสม เช่นถ้าอำเภอไม่มีข้าราชการตำแหน่งบรรณารักษ์ ก็เปลี่ยนตำแหน่งครูอาสาฯที่ว่างเป็นพนักงานราชการตำแหน่งบรรณารักษ์ แล้วเลิกจ้างเหมาบริการตำแหน่งบรรณารักษ์ เป็นต้น
เปลี่ยนตำแหน่งแล้วอยู่ที่อำเภอเดิมหรือจะย้ายไปอยู่ที่อื่น จังหวัดก็คุยกับอำเภอแล้วจังหวัดเสนอส่วนกลาง
3) การที่มีนโยบายให้เกลี่ยตำแหน่งครูอาสาฯเป็นตำแหน่งอื่นนี้ มีเหตุผลที่
ตามกฏเกณฑ์ที่ตกลงไว้กับ ก.พ.ร.นั้น ตำแหน่งครูอาสาฯต้องมีหน้าที่เป็นครูผู้สอนนะครับ ถ้าเราบอกว่าปัจจุบันมีครู กศน.ตำบลแล้ว ครูอาสาฯไม่ต้องสอนแล้ว ก.พ.ร.จะให้ยุบ/เลิกจ้างตำแหน่งครูอาสาฯทั้งหมด
ถ้า ก.พ.ร.รู้ว่าครูอาสาฯในบางอำเภอไม่ได้ทำหน้าที่ครูผู้สอน จะมีปัญหา
จึงควรเปลี่ยนตำแหน่งครูอาสาฯเป็นตำแหน่งอื่นที่ทำหน้าที่ตรงกับชื่อตำแหน่ง
ไม่ใช่ว่า เมื่อตำแหน่งครูอาสาฯว่างลง ก็จ้างคนใหม่เป็นตำแหน่งครูอาสาฯอีก แต่ให้ทำงานต่าง ๆ อยู่ที่อำเภอ ไม่ต้องสอน โดยบอกว่า ถึงจะไม่ได้สอนแต่ฉันเป็นคนประเมิน ฉันให้ผ่านประเมิน ใครจะทำไม แบบนี้ถ้ามีผู้ร้องไปที่ ก.พ.ร. ครูอาสาฯทั้งประเทศอาจมีปัญหา ( ก.พ.ร.เคยยุบพนักงานราชการบางตำแหน่งของกระทรวงวัฒนธรรมและกรมป่าไม้แล้ว )
4. เช้าวันที่ 19 ต.ค.61 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ก ว่า ฉันเป็นครู กศน ตำบล อำเภอแก้งคร้อ มีข้อสงสัย เดือนเมษยน 2561 มี กศน ท่านนึงเสียชีวิตลง ทางกศน.จังหวัดได้ปนะกาศ ให้ครู กศน ตำบลย้ายพื้นที่แทนตำนั้น ฉันทำเรื่องย้ายไปแทน จังหวัดอนุมัติการย้ายแล้ว และจังหวัดได้ทำหนังสือแจ้งไปส่วนกลางแล้ว แต่ส่วนกลางยังไม่ตอบกลับ ขอถามว่า
ถ้าจังหวัดอนุมัติแล้วสามารถมาปฏิบัติบัติงานยังพื้นที่นั้นได้ไหม
2 ส่วนกลางจะมีหนังสือตอบกลับมาตอนไหน ต้องใช้เวลานานไหม
3 ผอ อำเถอ ก็อ้างว่ายังไม่มีหนังสือจากส่วนกลาง แต่ฉันมีความลำบาก ถ้าได้ย้าย ไปกลับก็สั้นลง 56 กิโลเมตร ค่านำ้มันเดือนนึงก็หลายบาท ทั้งค่าเล่าเรียนลูกอีก2 คน
ผมตอบว่า ถ้าย้ายคนภายในจังหวัด โดยมีเลขที่ตำแหน่งรองรับ
ในตำแหน่งเดียวกัน ( ไม่ใช่ย้ายเลขที่ตำแหน่ง ) จังหวัดให้ย้ายได้เลย ไม่ต้องคอยส่วนกลางตอบกลับ
เช่น นาย A ตำแหน่งครู กศน.ตำบล เลขที่ 5432 ซึ่งเป็นเลขที่ตำแหน่งครู กศน.ตำบล ของตำบล ก.ไก่
ส่วน นาง B ตำแหน่งครู กศน.ตำบล เช่นเดียวกัน แต่เลขที่ 8888 ซึ่งเป็นเลขที่ตำแหน่งครู กศน.ตำบล ของตำบล ข.ไข่
ต่อมา นาย A เสียชีวิต ทำให้เลขที่ 5432 เป็นตำแหน่งว่าง และจังหวัดพิจารณาให้ นาง B ย้ายไปครองตำแหน่งเลที่ 5432 ที่ตำบล ก.ไก่ แทน โดยคายเลขที่ 8888 ไว้ที่ ตำบล ข.ไข่ ทำให้เลขที่ 8888 กลายเป็นตำแหน่งว่าง
เลขที่ 5432 ก็ยังอยู่ตำบล ก.ไก่เหมือนเดิม, เลขที่ 8888 ก็ยังอยู่ตำบล ข.ไข่เหมือนเดิม เปลี่ยนแต่คนครองตำแหน่ง แบบนี้ให้อำนาจจังหวัดดำเนินการโดยไม่ต้องคอยส่วนกลางตอบกลับ เมื่อคณะกรรมการจังหวัดพิจารณาและจังหวัดแจ้งให้สถานศึกษาย้าย พร้อมจังหวัดบันทึกลงฐานข้อมูล DPIS ภายใน 3 วัน แล้ว รายงานให้สำนักงาน กศน. “ทราบ” ภายใน 30 วัน
เช่น นาย A ตำแหน่งครู กศน.ตำบล เลขที่ 5432 ซึ่งเป็นเลขที่ตำแหน่งครู กศน.ตำบล ของตำบล ก.ไก่
ส่วน นาง B ตำแหน่งครู กศน.ตำบล เช่นเดียวกัน แต่เลขที่ 8888 ซึ่งเป็นเลขที่ตำแหน่งครู กศน.ตำบล ของตำบล ข.ไข่
ต่อมา นาย A เสียชีวิต ทำให้เลขที่ 5432 เป็นตำแหน่งว่าง และจังหวัดพิจารณาให้ นาง B ย้ายไปครองตำแหน่งเลที่ 5432 ที่ตำบล ก.ไก่ แทน โดยคายเลขที่ 8888 ไว้ที่ ตำบล ข.ไข่ ทำให้เลขที่ 8888 กลายเป็นตำแหน่งว่าง
เลขที่ 5432 ก็ยังอยู่ตำบล ก.ไก่เหมือนเดิม, เลขที่ 8888 ก็ยังอยู่ตำบล ข.ไข่เหมือนเดิม เปลี่ยนแต่คนครองตำแหน่ง แบบนี้ให้อำนาจจังหวัดดำเนินการโดยไม่ต้องคอยส่วนกลางตอบกลับ เมื่อคณะกรรมการจังหวัดพิจารณาและจังหวัดแจ้งให้สถานศึกษาย้าย พร้อมจังหวัดบันทึกลงฐานข้อมูล DPIS ภายใน 3 วัน แล้ว รายงานให้สำนักงาน กศน. “ทราบ” ภายใน 30 วัน
ส่วนที่ต้องรอให้ส่วนกลางตอบกลับก่อน
มี 2 กรณี คือ
1) การเปลี่ยนชื่อตำแหน่ง เช่น ตำแหน่งครูอาสาฯ เลขที่ 7722 เป็นตำแน่งครูอาสาฯของ อำเภอ ม.ม้า เมื่อว่างลง ( ผู้ครองตำแหน่งเดิม ตาย-ลาออก-เกษียณ-ถูกเลิกจ้าง ) จังหวัดและอำเภอต้องการเปลี่ยนตำแหน่งว่างเลขที่ 7722 นี้ จากตำแหน่งครูอาสาฯ เป็นตำแหน่งบรรณารักษ์ กรณีนี้ต้องคอยให้ส่วนกลางตอบกลับก่อน
2) การย้ายเลขที่ตำแหน่ง เช่น จังหวัดและอำเภอต้องการย้ายตำแหน่งครูอาสาฯ เลขที่ 7722 ของอำเภอ ม.ม้า ไปไว้ที่อำเภอ ส.เสือ ไม่ว่าจะเป็นเลขตำแหน่งว่างหรือเลขตำแหน่งที่มีคนครองอยู่ ( ถ้าเป็นตำแหน่งที่มีคนครองอยู่ก็คือจะย้ายไปทั้งคนและเลขที่ ) โดยที่เดิมอัตราจะหายไป คนอื่นจะมาแทนที่เดิมอีกไม่ได้ กรณีนี้ต้องคอยให้ส่วนกลางตอบกลับก่อน
ถ้าจะให้ชัดเจน ลองสอบถาม กจ.กศน. 02-2822159 ว่ากรณีของคุณต้องคอยให้ส่วนกลางตอบกลับไหม ( ครึ่งปีแล้ว )
1) การเปลี่ยนชื่อตำแหน่ง เช่น ตำแหน่งครูอาสาฯ เลขที่ 7722 เป็นตำแน่งครูอาสาฯของ อำเภอ ม.ม้า เมื่อว่างลง ( ผู้ครองตำแหน่งเดิม ตาย-ลาออก-เกษียณ-ถูกเลิกจ้าง ) จังหวัดและอำเภอต้องการเปลี่ยนตำแหน่งว่างเลขที่ 7722 นี้ จากตำแหน่งครูอาสาฯ เป็นตำแหน่งบรรณารักษ์ กรณีนี้ต้องคอยให้ส่วนกลางตอบกลับก่อน
2) การย้ายเลขที่ตำแหน่ง เช่น จังหวัดและอำเภอต้องการย้ายตำแหน่งครูอาสาฯ เลขที่ 7722 ของอำเภอ ม.ม้า ไปไว้ที่อำเภอ ส.เสือ ไม่ว่าจะเป็นเลขตำแหน่งว่างหรือเลขตำแหน่งที่มีคนครองอยู่ ( ถ้าเป็นตำแหน่งที่มีคนครองอยู่ก็คือจะย้ายไปทั้งคนและเลขที่ ) โดยที่เดิมอัตราจะหายไป คนอื่นจะมาแทนที่เดิมอีกไม่ได้ กรณีนี้ต้องคอยให้ส่วนกลางตอบกลับก่อน
ถ้าจะให้ชัดเจน ลองสอบถาม กจ.กศน. 02-2822159 ว่ากรณีของคุณต้องคอยให้ส่วนกลางตอบกลับไหม ( ครึ่งปีแล้ว )
วันเสาร์ที่ 20 ต.ค.61 เวลา 09.36
น. คุณณัฐพนธ์ กจ.กศน. แนะนำผมทางไลน์ เรื่องการขอเปลี่ยนพื้นที่ของพนักงานราชการ
( มีเลขที่ตำแหน่งว่างในตำแหน่งและกลุ่มงานเดียวกัน ) 2 กรณี ว่า
ตามหนังสือซักซ้อมแนวปฏิบัติระบบพนักงานราชการ มีแนวปฏิบัติ ดังนี้
กรณี 1. เปลี่ยน พท.ปฏิบัติงานภายในจังหวัด ให้เป็นอำนาจของ ผอ.จังหวัด โดยดำเนินการ ดังนี้
1.1 พนักงานราชการผู้ประสงค์ขอเปลี่ยน พท. เขียนคำร้อง หรือทำบันทึกแจ้งความประสงค์ ยื่นต่อผู้บังคับบัญชา เช่น ผอ.กศน.อำเภอ เพื่อให้ความเห็นชอบ
1.2 หากเห็นชอบ ให้ทำหนังสือแจ้งจังหวัดพิจารณา
1.3 หากจังหวัดเห็นชอบ ตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการเปลี่ยน พท. จัดประชุม สรุปผลการประชุม ออกคำสั่ง ทำบัญชีแนบท้ายคำสั่ง
1.4 แจ้ง พรก.รายดังกล่าว ไปปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบตามคำสั่ง โดย
1.4.1 ให้ พรก. นำสัญญาจ้างที่ยังไม่หมดสัญญาไปด้วย และให้แนบคำสั่งไว้ท้ายสัญญาจ้าง
1.4.2 ปรับปรุงข้อมูลใน dpis ให้เป็นปัจจุบัน
1.5 จังหวัดส่ง คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ รายงานการประชุม สรุปผลการประชุม คำสั่ง บัญชีแนบท้ายฯ ให้ สนง.กศน.รับทราบ การเปลี่ยนพื้นที่ภายในจังหวัด ไม่ต้องรอให้ สนง.กศน. ตอบกลับ
กรณี 2. เปลี่ยน พท. ข้ามจังหวัด/หน่วยงาน ต้องรอคำสั่งจาก สนง.กศน.เท่านั้น ไม่สามารถดำเนินการได้เอง กรณีข้ามจังหวัด ปกติ สนง.กศน.จะแจ้งให้ขอเปลี่ยนเมื่อต่อสัญญา และเนื่องจากขณะนี้ เป็นช่วงการเลื่อนค่าตอบแทน พรก. จึงขอชะลอการย้าย จนกว่าการเลื่อนค่าตอบแทนจะแล้วเสร็จ การขอข้ามจังหวัดนี้แม้เลื่อนค่าตอบแทนเสร็จแล้ว ถ้ายังไม่มีคำสั่งจาก สนง.กศน. ก็ยังส่งเรื่องขอเปลี่ยนส่ง.กศน.ไม่ได้ ยกเว้นขอเปลี่ยนกรณีมีเหตุจำเป็นพิเศษ
อนึ่ง ถ้าจังหวัดจะเปลี่ยนตำแหน่ง เช่นเปลี่ยนจากครูอาสาฯ เป็นบรรณารักษ์ หรือจะย้ายเลขที่ตำแหน่งจากที่หนึ่งไปไว้อีกที่หนึ่ง ต้องแจ้งให้ สนง.กศน.ตอบกลับก่อน ผู้รับผิดชอบคือ กลุ่มงานอัตรากำลัง กจ.
หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามได้ที่ นายณัฐพนธ์ เบอร์มือถือ 095 6936147
5. คืนวันเดียวกัน ( 19 ต.ค.) มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ก ว่า ครูอาสา ใน กศน.อำเภอ มี2 คน และเพิ่งจะเกษียนไป 1 คน ตอนนี้ตำแหน่งครูอาสา ในอำเภอ เหลือ1 คน จังหวัดจะต้องเกลี่ยครูอาสาที่เกษียนไปแล้วนั้นว เป็นพนักงานราชการตำแหน่ง บรรณารักษ์ โดยที่เลิกจ้าง บรรณารักษ์จ้างเหมารึเปล่า
ตามหนังสือซักซ้อมแนวปฏิบัติระบบพนักงานราชการ มีแนวปฏิบัติ ดังนี้
กรณี 1. เปลี่ยน พท.ปฏิบัติงานภายในจังหวัด ให้เป็นอำนาจของ ผอ.จังหวัด โดยดำเนินการ ดังนี้
1.1 พนักงานราชการผู้ประสงค์ขอเปลี่ยน พท. เขียนคำร้อง หรือทำบันทึกแจ้งความประสงค์ ยื่นต่อผู้บังคับบัญชา เช่น ผอ.กศน.อำเภอ เพื่อให้ความเห็นชอบ
1.2 หากเห็นชอบ ให้ทำหนังสือแจ้งจังหวัดพิจารณา
1.3 หากจังหวัดเห็นชอบ ตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการเปลี่ยน พท. จัดประชุม สรุปผลการประชุม ออกคำสั่ง ทำบัญชีแนบท้ายคำสั่ง
1.4 แจ้ง พรก.รายดังกล่าว ไปปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบตามคำสั่ง โดย
1.4.1 ให้ พรก. นำสัญญาจ้างที่ยังไม่หมดสัญญาไปด้วย และให้แนบคำสั่งไว้ท้ายสัญญาจ้าง
1.4.2 ปรับปรุงข้อมูลใน dpis ให้เป็นปัจจุบัน
1.5 จังหวัดส่ง คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ รายงานการประชุม สรุปผลการประชุม คำสั่ง บัญชีแนบท้ายฯ ให้ สนง.กศน.รับทราบ การเปลี่ยนพื้นที่ภายในจังหวัด ไม่ต้องรอให้ สนง.กศน. ตอบกลับ
กรณี 2. เปลี่ยน พท. ข้ามจังหวัด/หน่วยงาน ต้องรอคำสั่งจาก สนง.กศน.เท่านั้น ไม่สามารถดำเนินการได้เอง กรณีข้ามจังหวัด ปกติ สนง.กศน.จะแจ้งให้ขอเปลี่ยนเมื่อต่อสัญญา และเนื่องจากขณะนี้ เป็นช่วงการเลื่อนค่าตอบแทน พรก. จึงขอชะลอการย้าย จนกว่าการเลื่อนค่าตอบแทนจะแล้วเสร็จ การขอข้ามจังหวัดนี้แม้เลื่อนค่าตอบแทนเสร็จแล้ว ถ้ายังไม่มีคำสั่งจาก สนง.กศน. ก็ยังส่งเรื่องขอเปลี่ยนส่ง.กศน.ไม่ได้ ยกเว้นขอเปลี่ยนกรณีมีเหตุจำเป็นพิเศษ
อนึ่ง ถ้าจังหวัดจะเปลี่ยนตำแหน่ง เช่นเปลี่ยนจากครูอาสาฯ เป็นบรรณารักษ์ หรือจะย้ายเลขที่ตำแหน่งจากที่หนึ่งไปไว้อีกที่หนึ่ง ต้องแจ้งให้ สนง.กศน.ตอบกลับก่อน ผู้รับผิดชอบคือ กลุ่มงานอัตรากำลัง กจ.
หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามได้ที่ นายณัฐพนธ์ เบอร์มือถือ 095 6936147
5. คืนวันเดียวกัน ( 19 ต.ค.) มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ก ว่า ครูอาสา ใน กศน.อำเภอ มี2 คน และเพิ่งจะเกษียนไป 1 คน ตอนนี้ตำแหน่งครูอาสา ในอำเภอ เหลือ1 คน จังหวัดจะต้องเกลี่ยครูอาสาที่เกษียนไปแล้วนั้นว เป็นพนักงานราชการตำแหน่ง บรรณารักษ์ โดยที่เลิกจ้าง บรรณารักษ์จ้างเหมารึเปล่า
ผมตอบว่า ตามนโยบาย ให้จังหวัดพิจารณาทำลักษณะนั้นครับ
ถ้ารวมทั้งจังหวัดมีจำนวนครูอาสาฯมากกว่าจำนวนอำเภอ
แต่ ถ้าอำเภอนี้มีครูอาสาฯ 2 อัตรา แต่อำเภออื่น 2-3 อำเภอ ไม่มีครูอาสาฯ รวมทั้งจังหวัดมีจำนวนครูอาสาฯไม่เกินจำนวนอำเภอ ก็อาจขอย้ายเลขที่อัตราครูอาสาฯที่เกษียณนั้นไปไว้ที่อำเภอที่ไม่มีครูอาสาฯและจ้างคนใหม่ในตำแหน่งครูอาสาฯ
6. การยื่นขอย้าย
แต่ ถ้าอำเภอนี้มีครูอาสาฯ 2 อัตรา แต่อำเภออื่น 2-3 อำเภอ ไม่มีครูอาสาฯ รวมทั้งจังหวัดมีจำนวนครูอาสาฯไม่เกินจำนวนอำเภอ ก็อาจขอย้ายเลขที่อัตราครูอาสาฯที่เกษียณนั้นไปไว้ที่อำเภอที่ไม่มีครูอาสาฯและจ้างคนใหม่ในตำแหน่งครูอาสาฯ
6. การยื่นขอย้าย
1)
การย้ายกรณีปกติ ( กลับภูมิลำเนา, ไปอยู่ร่วมกับคู่สมรส,
ไปดูแลบิดามารดา ) จะยื่นคำร้องขอย้ายได้เมื่อถึงช่วงเวลาที่กำหนด
2) การขอย้ายกรณีพิเศษ ( ยื่นขอย้ายได้โดยไม่มีการกำหนดช่วงเวลา ) เช่น
- ติดตามคู่สมรส ( คู่สมรสต้องย้ายไปจากเราหลังจากที่เราบรรจุอยู่ที่เดิมนี้แล้ว จึงจะเรียกว่าย้ายติดตามคู่สมรสเป็นกรณีพิเศษ แต่ถ้าย้ายไปอยู่ร่วมกับคู่สมรสโดยคู่สมรสไม่ได้เพิ่งย้ายไป ก็จะเป็นการย้ายกรณีปกติ )
- เจ็บป่วยร้ายแรง
- ถูกคุกคามต่อชีวิต
- บิดามารดาหรือคู่สมรสเจ็บป่วยร้ายแรง
2) การขอย้ายกรณีพิเศษ ( ยื่นขอย้ายได้โดยไม่มีการกำหนดช่วงเวลา ) เช่น
- ติดตามคู่สมรส ( คู่สมรสต้องย้ายไปจากเราหลังจากที่เราบรรจุอยู่ที่เดิมนี้แล้ว จึงจะเรียกว่าย้ายติดตามคู่สมรสเป็นกรณีพิเศษ แต่ถ้าย้ายไปอยู่ร่วมกับคู่สมรสโดยคู่สมรสไม่ได้เพิ่งย้ายไป ก็จะเป็นการย้ายกรณีปกติ )
- เจ็บป่วยร้ายแรง
- ถูกคุกคามต่อชีวิต
- บิดามารดาหรือคู่สมรสเจ็บป่วยร้ายแรง
การขอย้ายกรณีพิเศษ
ไม่ใช่จะอ้างเหตุกรณีพิเศษโดยง่าย เพราะ จะต้องแนบหลักฐานต่าง ๆ
แม้แต่การขอไปช่วยราชการในลักษณะประจำ ก็ยังต้องแนบหลักฐานต่าง ๆ มาก ตัวอย่างเช่น
มีข้าราชการครู กศน. คนหนึ่ง ขอไปช่วยราชการโดยอ้างเหตุเพื่อดูแลบิดามารดาและบุตร
3 คน ปรากฏว่า สป.ศธ. ขอข้อมูลเพิ่มเติมหลายรายการ ตามภาพประกอบโพสต์นี้
7. เช้าวันอาทิตย์ที่ 21
ต.ค.61 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ก ว่า ปีงบ62 ครูกศน.ตำบล ย้ายได้มั๊ย
กลับภูมิลำเนา
ผมตอบว่า พนักงานราชการให้ขอย้ายกรณีปกติ
(ไปปฏิบัติงานนอกพื้นที่ฯ ) ข้ามจังหวัด ในช่วงต่อสัญญาพร้อมกันทั่วประเทศ
ซึ่งจะต่อสัญญาทุก 4 ปี ตอนนี้ทำสัญญา 1 ต.ค.59-30 ก.ย.63 ( ดูสัญญานะ )
จะให้ต่อสัญญา+ขอย้ายข้ามจังหวัด ในช่วง ก.ย.-ต.ค.63
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อสงสัย