สัปดาห์นี้มีเรื่องที่คิดว่าน่าสนใจ
ขอเลือกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7 เรื่อง ดังนี้
1. วันที่ 10 ก.ย.58 ผมถามคำถามในเฟซบุ๊คกลุ่มครูนอกระบบ ว่า
คำว่า “บุคลากรทางการศึกษา” ใน “พ.ร.บ.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” หมายถึงข้อใด ?
ก. ข้าราชการ
ข. แล้วแต่สถานการณ์
ค. บุคลากรทุกประเภท
ง. บุคลากรอื่นที่ไม่ใช่ข้าราชการ
จ. บุคลากรทุกประเภท ยกเว้นพนักงานจ้างเหมาบริการ
1. วันที่ 10 ก.ย.58 ผมถามคำถามในเฟซบุ๊คกลุ่มครูนอกระบบ ว่า
คำว่า “บุคลากรทางการศึกษา” ใน “พ.ร.บ.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” หมายถึงข้อใด ?
ก. ข้าราชการ
ข. แล้วแต่สถานการณ์
ค. บุคลากรทุกประเภท
ง. บุคลากรอื่นที่ไม่ใช่ข้าราชการ
จ. บุคลากรทุกประเภท ยกเว้นพนักงานจ้างเหมาบริการ
เช้าวันเสาร์ที่ 12 ก.ย.58
ผมเฉลยว่า
ตามมาตรา 38 ค. ของ พ.ร.บ.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ( http://www.sesa10.go.th/sesa10/data/mar55/7.pdf ) ระบุว่า บุคลากรทางการศึกษามี 2 ประเภท คือ
(1) ศึกษานิเทศก์ ( ซึ่งเป็นข้าราชการ )
(2) บุคลากรทางการศึกษาอื่น ( เช่น บรรณารักษ์ นักวิชาการศึกษา นักจัดการงานทั่วไป ซึ่งเป็นข้าราชการ )
เช่น
1) การแต่งตั้งผู้รักษาการในตำแหน่ง ผอ.กศน.อำเภอ ต้องแต่งตั้งจาก ข้าราชการครูหรือ “บุคลากรทางการศึกษา” คำว่าบุคลากรทางการศึกษาในที่นี้หมายถึงข้าราชการ ก.ค.ศ. ( ไม่ใช่ข้าราชการ ก.พ.) เช่น ศึกษานิเทศก์ หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นตาม ม.38 ค.(2) เช่นข้าราชการตำแหน่งบรรณารักษ์ ถ้าในอำเภอไม่มี ก็แต่งตั้งจากอำเภออื่น จะแต่งตั้งผู้ที่ไม่ใช่ข้าราชการให้รักษาการในตำแหน่ง ผอ.กศน.อำเภอ ไม่ได้
2) ผู้ช่วยเลขานุการกรรมการสถานศึกษา ต้องเป็น ข้าราชการครูและ “บุคลากรทางการศึกษา” คำว่าบุคลากรทางการศึกษาในที่นี้ หมายถึงข้าราชการเช่นกัน
3) โครงการเพชรน้ำหนึ่ง ของ กศน. กำหนดให้ผู้ที่ไปต่างประเทศ ต้องเป็นข้าราชการครูหรือ “บุคลากรทางการศึกษา” ตำแหน่งใดก็ได้ คำว่าบุคลากรทางการศึกษาในที่นี้หมายถึงเฉพาะข้าราชการเช่นกัน
ตามมาตรา 38 ค. ของ พ.ร.บ.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ( http://www.sesa10.go.th/sesa10/data/mar55/7.pdf ) ระบุว่า บุคลากรทางการศึกษามี 2 ประเภท คือ
(1) ศึกษานิเทศก์ ( ซึ่งเป็นข้าราชการ )
(2) บุคลากรทางการศึกษาอื่น ( เช่น บรรณารักษ์ นักวิชาการศึกษา นักจัดการงานทั่วไป ซึ่งเป็นข้าราชการ )
เช่น
1) การแต่งตั้งผู้รักษาการในตำแหน่ง ผอ.กศน.อำเภอ ต้องแต่งตั้งจาก ข้าราชการครูหรือ “บุคลากรทางการศึกษา” คำว่าบุคลากรทางการศึกษาในที่นี้หมายถึงข้าราชการ ก.ค.ศ. ( ไม่ใช่ข้าราชการ ก.พ.) เช่น ศึกษานิเทศก์ หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นตาม ม.38 ค.(2) เช่นข้าราชการตำแหน่งบรรณารักษ์ ถ้าในอำเภอไม่มี ก็แต่งตั้งจากอำเภออื่น จะแต่งตั้งผู้ที่ไม่ใช่ข้าราชการให้รักษาการในตำแหน่ง ผอ.กศน.อำเภอ ไม่ได้
2) ผู้ช่วยเลขานุการกรรมการสถานศึกษา ต้องเป็น ข้าราชการครูและ “บุคลากรทางการศึกษา” คำว่าบุคลากรทางการศึกษาในที่นี้ หมายถึงข้าราชการเช่นกัน
3) โครงการเพชรน้ำหนึ่ง ของ กศน. กำหนดให้ผู้ที่ไปต่างประเทศ ต้องเป็นข้าราชการครูหรือ “บุคลากรทางการศึกษา” ตำแหน่งใดก็ได้ คำว่าบุคลากรทางการศึกษาในที่นี้หมายถึงเฉพาะข้าราชการเช่นกัน
ฉะนั้น คำตอบที่ถูกต้องคือ ก.
ข้าราชการ
2. วันที่ 15 ก.ย.58 ผมโพสต์ในเฟซบุ๊ค ว่า ขณะนี้ถึงเวลาที่สถานศึกษาต้องส่ง SAR ( รายงานการประเมินตนเอง ) ประจำปีงบประมาณ 2558 แล้ว
2. วันที่ 15 ก.ย.58 ผมโพสต์ในเฟซบุ๊ค ว่า ขณะนี้ถึงเวลาที่สถานศึกษาต้องส่ง SAR ( รายงานการประเมินตนเอง ) ประจำปีงบประมาณ 2558 แล้ว
การทำ SAR ต้องทำทุกปี สถานศึกษาในระบบทำ SAR
ตามปีการศึกษา แต่สถานศึกษา กศน.ทำ SAR ตามปีงบประมาณ
( 1 ต.ค. ถึง 30 ก.ย. )
ในการประเมินฯภายในโดยต้นสังกัด คณะกรรมการต้องใช้ข้อมูลตาม SAR 3 ปีล่าสุด จึงจะคำนวณคะแนนออกมาได้ บางอำเภอเข้าใจผิดคิดว่าคณะกรรมการจะใช้ข้อมูลตาม SAR ปีล่าสุดปีเดียว กว่าจะรู้ก็ถึงวันที่คณะกรรมการไปถึงแล้ว หาข้อมูล 3 ปีไม่ทันแล้ว
ในการประเมินฯภายในโดยต้นสังกัด คณะกรรมการต้องใช้ข้อมูลตาม SAR 3 ปีล่าสุด จึงจะคำนวณคะแนนออกมาได้ บางอำเภอเข้าใจผิดคิดว่าคณะกรรมการจะใช้ข้อมูลตาม SAR ปีล่าสุดปีเดียว กว่าจะรู้ก็ถึงวันที่คณะกรรมการไปถึงแล้ว หาข้อมูล 3 ปีไม่ทันแล้ว
การทำ SAR ปีงบประมาณ 2558 ยังคงใช้หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินคุณภาพภายในเดิม
( 6 มาตรฐาน 26 ตัวบ่งชี้เดิม )
เพราะหลักเกณฑ์ที่กำลังพัฒนาใหม่ยังไม่เสร็จ อาจเสร็จและเริ่มใช้ในปีงบประมาณ 2559
ซึ่งจะใช้ในการทำ SAR ประจำปีงบประมาณ 2559
เป็นอย่างเร็ว
ดูแบบฟอร์มการทำ SAR ได้ที่
- ไฟล์สกุล .pdf ที่ https://db.tt/K96czmfJ
- ไฟล์สกุล .doc ที่ https://db.tt/7PAofFGu
ดูแบบฟอร์มการทำ SAR ได้ที่
- ไฟล์สกุล .pdf ที่ https://db.tt/K96czmfJ
- ไฟล์สกุล .doc ที่ https://db.tt/7PAofFGu
อนึ่งการทำ SAR
ประจำปี งปม.58 ในตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะใช้ค่าขีดจำกัดล่างของการสอบปลายภาค เปรียบเทียบ 2
ปีงบประมาณ ระหว่างปีงบประมาณ 2558 (ภาค 2/57
และ 1/58 ) กับ ปีงบประมาณ 2557 ( ภาค 2/56 และ 1/57 ) โดยให้โปรแกรม
ITw คำนวณให้ แต่ขณะนี้ยังไม่มีค่าขีดจำกัดล่างภาค
1/58 ( ยังไม่ได้สอบปลายภาค 1/58 ) เมื่อต้องรีบส่ง
SAR ให้ปล่อยข้อมูลค่าขีดจำกัดล่างของภาคเรียนที่ 1/58
ในโปรแกรม ITw ว่างไว้ก่อน
คำนวณเท่าที่มีข้อมูลไปก่อน แต่เมื่อภายหลังได้ค่าขีดจำกัดล่างแล้ว
ต้องเข้ามากรอกในโปรแกรม คำนวณใหม่ ปรับแก้ SAR ในส่วนนี้ใหม่
3. วันที่ 14 ก.ย.58 Pattanan Dondee ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า การสอบปลายภาคเรียนนักศึกษาพิการด้านร่างกาย สามารถนำข้อสอบไปให้นักศึกษาสอบที่บ้านได้หรือไม่ ต้องดำเนินการอย่างไร
3. วันที่ 14 ก.ย.58 Pattanan Dondee ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า การสอบปลายภาคเรียนนักศึกษาพิการด้านร่างกาย สามารถนำข้อสอบไปให้นักศึกษาสอบที่บ้านได้หรือไม่ ต้องดำเนินการอย่างไร
ผมตอบว่า ไม่มีระเบียบให้ปฏิบัติได้โดยตรง
อยู่ที่ผู้บริหารและประธานฯสนามสอบจะอนุญาตหรือไม่
ถ้าอนุญาตก็ให้คน 2 คนนำข้อสอบไปสอบที่บ้าน
แล้วรีบนำมาบรรจุกลับเข้าซองข้อสอบในวันนั้น
ที่ต้องใช้คนนำไปสอบ 2 คน เพื่อเป็นพยานให้กันและกันว่าดำเนินการถูกต้อง เช่น ใช้เวลาสอบตามที่กำหนด ไม่ได้คัดลอกหรือถ่ายเอกสารข้อสอบ ไม่ได้บอกข้อสอบ และช่วยกันแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ เป็นต้น
ที่ต้องใช้คนนำไปสอบ 2 คน เพื่อเป็นพยานให้กันและกันว่าดำเนินการถูกต้อง เช่น ใช้เวลาสอบตามที่กำหนด ไม่ได้คัดลอกหรือถ่ายเอกสารข้อสอบ ไม่ได้บอกข้อสอบ และช่วยกันแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ เป็นต้น
กรณีจะให้นักศึกษาพิการใช้เวลาทำข้อสอบมากกว่านักศึกษาทั่วไป ก็ไม่มีระเบียบให้ปฏิบัติได้โดยตรงเช่นกัน
เพราะปกติไม่ได้แยกห้องสอบจากนักศึกษาทั่วไป
ผมคิดว่าผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการอนุโลมที่เหมาะสมตามความจำเป็น
4. คืนวันที่ 15 ก.ย.58 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า ผอ.กศน.อำเภอคนใหม่ ไม่ยอมรับหนี้สินค่าวัสดุของ กศน.อำเภอ จะให้ ผอ.คนเก่ามาจ่ายหนี้สินได้หรือ
4. คืนวันที่ 15 ก.ย.58 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า ผอ.กศน.อำเภอคนใหม่ ไม่ยอมรับหนี้สินค่าวัสดุของ กศน.อำเภอ จะให้ ผอ.คนเก่ามาจ่ายหนี้สินได้หรือ
เรื่องนี้ ผมซักผู้ถามอีกหลายประโยค
จึงได้รับข้อมูลเพิ่มเติมดังนี้
เมื่อเดือน ก.พ.58 ผอ.กศน.อำเภอ ย้ายกันอยู่ภายในจังหวัดเดียวกัน
ระบบการซื้อวัสดุของอำเภอนี้ ผอ.เก่าจะให้เจ้าหน้าที่พัสดุเป็นผู้ไปทยอยนำวัสดุสำนักงานที่จำเป็นต้องใช้ จากร้านที่ กศน.อำเภอมีเครดิตกันอยู่ มาใช้ทำงานในสำนักงาน โดยภายหลังทางร้านจึงจะรวบรวมรายการทำใบส่งของมาให้ทำเอกสารจัดซื้อ
แต่ค่าวัสดุประมาณ 28,000 บาทนี้ ยังไม่ได้ทำเอกสารขออนุญาตจัดซื้อเพราะเงินงบประมาณงวดแรกหมดแล้ว ต้องรอเงินงบประมาณงวดหลัง แต่ ผอ.ก็ย้ายไปก่อน และเมื่อ ผอ.ใหม่ย้ายมา ก็ใช้เงินงบประมาณงวดหลังสั่งซื้อของใหม่ ไม่สนใจหนี้เก่า ทั้งที่ ผอ.เก่าได้บันทึกหนี้สินนี้ไว้ในรายงานมอบงานของ ผอ.เก่า ด้วย
เมื่อเดือน ก.พ.58 ผอ.กศน.อำเภอ ย้ายกันอยู่ภายในจังหวัดเดียวกัน
ระบบการซื้อวัสดุของอำเภอนี้ ผอ.เก่าจะให้เจ้าหน้าที่พัสดุเป็นผู้ไปทยอยนำวัสดุสำนักงานที่จำเป็นต้องใช้ จากร้านที่ กศน.อำเภอมีเครดิตกันอยู่ มาใช้ทำงานในสำนักงาน โดยภายหลังทางร้านจึงจะรวบรวมรายการทำใบส่งของมาให้ทำเอกสารจัดซื้อ
แต่ค่าวัสดุประมาณ 28,000 บาทนี้ ยังไม่ได้ทำเอกสารขออนุญาตจัดซื้อเพราะเงินงบประมาณงวดแรกหมดแล้ว ต้องรอเงินงบประมาณงวดหลัง แต่ ผอ.ก็ย้ายไปก่อน และเมื่อ ผอ.ใหม่ย้ายมา ก็ใช้เงินงบประมาณงวดหลังสั่งซื้อของใหม่ ไม่สนใจหนี้เก่า ทั้งที่ ผอ.เก่าได้บันทึกหนี้สินนี้ไว้ในรายงานมอบงานของ ผอ.เก่า ด้วย
ผมตอบว่า
1) ขั้นตอนการจัดซื้อพัสดุ ที่นำพัสดุมาใช้ก่อนแล้วจึงทำเอกสารจัดซื้อภายหลัง นี้ ไม่ถูกต้องตามระเบียบ จึงมีปัญหา
นอกจากนี้ จะก่อหนี้ผูกพันโดยที่ยังไม่มีเงินหรือยังไม่ได้รับการแจ้งจัดสรรเงินอย่างเป็นทางการไม่ได้ ถ้างบประมาณไม่พอใช้ก็ต้องวางแผนประหยัด
2) ถ้าทำทะเบียน/บัญชีพัสดุ จะมีการกำหนดขั้นต่ำขั้นสูงของวัสดุสำนักงานแต่ละรายการไว้ ( ขั้นต่ำคือ เมื่อวัสดุรายการนี้คงเหลือเท่าใดให้จัดซื้อจัดหามาเพิ่มเติม ไม่ต้องรอให้หมดจึงจัดซื้อมาเพิ่ม ขั้นสูงคือไม่จัดซื้อเก็บไว้เกินเท่าใด ) หมายความว่า วัสดุสำนักงานนั้นสามารถวางแผนจัดซื้อไว้ให้เพียงพอในการใช้งานตลอดปีหรือตลอดงวดได้ ไม่ใช่ทยอยไปนำมาจากร้านเมื่อพัสดุใดหมด
3) เมื่อ ผอ.เก่า ก็ยังไม่ได้ลงนามอนุญาตให้จัดซื้อในเอกสาร การก่อหนี้ผูกพันที่ไม่ถูกขั้นตอนนี้ก็ยังไม่เข้าระบบที่จะถือว่าเป็นพัสดุหรือหนี้ผูกพันของสถานศึกษา/กศน.อำเภอ ซึ่งในการลงนามรับมอบงานของ ผอ.ใหม่ จะเกี่ยวข้องเฉพาะรายการที่อยู่ในระบบ ( ถ้า ผอ.เก่าอนุญาตให้จัดซื้อและลงนามในใบสังซื้อโดยชอบด้วยระเบียบแล้ว จึงจะเป็นหนี้ผูกพันในนามสถานศึกษา/กศน.อำเภอ ผอ.ใหม่จะปฏิเสธไม่ได้ ) กรณีนี้ ผอ.ใหม่จะปฏิเสธก็ได้
4) ถ้ายังไม่เข้าระบบ และ ผอ.ใหม่ปฏิเสธ ผู้ที่รับผิดชอบจะเป็นตัวบุคคล “ผู้รับของ” แต่ ผู้ขายเขาไม่รู้หรอกว่าใครเป็นใคร ถ้าในที่สุดเขาไม่สามารถเรียกเก็บเงินจาก กศน.อำเภอ เขาอาจโกรธและไม่ให้เครดิตอีก กศน.อำเภอก็ต้องเปลี่ยนไปซื้อที่อื่น มีความคล่องตัวน้อยลง การที่มีคนโกรธและไม่ให้เครดิตนี้ ถือได้ว่า กศน.อำเภอเสียหาย ( ถ้าจะหาตัว/ลงโทษ ผู้ที่ทำให้ กศน.อำเภอเสียหายหรือเสื่อมเสียนี้ คนแรกก็คือผู้รับของ ผู้รับของอาจซัดทอดคนอื่นต่อ เช่นบอกว่า ผอ.เก่าวางระบบให้ทำแบบนี้ )
5) โดยส่วนตัวผม มีความเห็นว่า เพื่อไม่ให้ กศน.อำเภอเสื่อมเสีย ผอ.เก่า+ผอ.ใหม่+ผอ.จังหวัด ควรคุยกันว่าจะแก้ปัญหานี้อย่างไร ถ้า เป็นการนำพัสดุมาใช้ในราชการตามความจำเป็นจริง ผอ.ใหม่จะอนุเคราะห์ยอมอนุญาตให้ใช้งบประมาณงวดต่อไปจัดซื้อ โดยกำชับว่าต่อไปไม่ให้ทำนอกระบบอีก จะได้หรือไม่
5. เรื่องไม่ค่อยจะเป็นเรื่อง แต่ก็มีข้อคิด
1) ขั้นตอนการจัดซื้อพัสดุ ที่นำพัสดุมาใช้ก่อนแล้วจึงทำเอกสารจัดซื้อภายหลัง นี้ ไม่ถูกต้องตามระเบียบ จึงมีปัญหา
นอกจากนี้ จะก่อหนี้ผูกพันโดยที่ยังไม่มีเงินหรือยังไม่ได้รับการแจ้งจัดสรรเงินอย่างเป็นทางการไม่ได้ ถ้างบประมาณไม่พอใช้ก็ต้องวางแผนประหยัด
2) ถ้าทำทะเบียน/บัญชีพัสดุ จะมีการกำหนดขั้นต่ำขั้นสูงของวัสดุสำนักงานแต่ละรายการไว้ ( ขั้นต่ำคือ เมื่อวัสดุรายการนี้คงเหลือเท่าใดให้จัดซื้อจัดหามาเพิ่มเติม ไม่ต้องรอให้หมดจึงจัดซื้อมาเพิ่ม ขั้นสูงคือไม่จัดซื้อเก็บไว้เกินเท่าใด ) หมายความว่า วัสดุสำนักงานนั้นสามารถวางแผนจัดซื้อไว้ให้เพียงพอในการใช้งานตลอดปีหรือตลอดงวดได้ ไม่ใช่ทยอยไปนำมาจากร้านเมื่อพัสดุใดหมด
3) เมื่อ ผอ.เก่า ก็ยังไม่ได้ลงนามอนุญาตให้จัดซื้อในเอกสาร การก่อหนี้ผูกพันที่ไม่ถูกขั้นตอนนี้ก็ยังไม่เข้าระบบที่จะถือว่าเป็นพัสดุหรือหนี้ผูกพันของสถานศึกษา/กศน.อำเภอ ซึ่งในการลงนามรับมอบงานของ ผอ.ใหม่ จะเกี่ยวข้องเฉพาะรายการที่อยู่ในระบบ ( ถ้า ผอ.เก่าอนุญาตให้จัดซื้อและลงนามในใบสังซื้อโดยชอบด้วยระเบียบแล้ว จึงจะเป็นหนี้ผูกพันในนามสถานศึกษา/กศน.อำเภอ ผอ.ใหม่จะปฏิเสธไม่ได้ ) กรณีนี้ ผอ.ใหม่จะปฏิเสธก็ได้
4) ถ้ายังไม่เข้าระบบ และ ผอ.ใหม่ปฏิเสธ ผู้ที่รับผิดชอบจะเป็นตัวบุคคล “ผู้รับของ” แต่ ผู้ขายเขาไม่รู้หรอกว่าใครเป็นใคร ถ้าในที่สุดเขาไม่สามารถเรียกเก็บเงินจาก กศน.อำเภอ เขาอาจโกรธและไม่ให้เครดิตอีก กศน.อำเภอก็ต้องเปลี่ยนไปซื้อที่อื่น มีความคล่องตัวน้อยลง การที่มีคนโกรธและไม่ให้เครดิตนี้ ถือได้ว่า กศน.อำเภอเสียหาย ( ถ้าจะหาตัว/ลงโทษ ผู้ที่ทำให้ กศน.อำเภอเสียหายหรือเสื่อมเสียนี้ คนแรกก็คือผู้รับของ ผู้รับของอาจซัดทอดคนอื่นต่อ เช่นบอกว่า ผอ.เก่าวางระบบให้ทำแบบนี้ )
5) โดยส่วนตัวผม มีความเห็นว่า เพื่อไม่ให้ กศน.อำเภอเสื่อมเสีย ผอ.เก่า+ผอ.ใหม่+ผอ.จังหวัด ควรคุยกันว่าจะแก้ปัญหานี้อย่างไร ถ้า เป็นการนำพัสดุมาใช้ในราชการตามความจำเป็นจริง ผอ.ใหม่จะอนุเคราะห์ยอมอนุญาตให้ใช้งบประมาณงวดต่อไปจัดซื้อ โดยกำชับว่าต่อไปไม่ให้ทำนอกระบบอีก จะได้หรือไม่
5. เรื่องไม่ค่อยจะเป็นเรื่อง แต่ก็มีข้อคิด
เย็นวันเสาร์ที่ 19
ก.ย.58 มีผู้ถามและผมตอบในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊คผม ดังนี้
ผู้ถาม : หนูเป็นครู ศรช. วันนี้มีเด็กสอบ หนูไม่ได้คุมสอบและเป็นกรรมการใดๆเลย วันนี้หนูใส่กระโปรงยีน ยาวถึงเข่า ผอ.อำเภอหนูเขาโทรมาบอกครูอีกท่านว่า ให้บอกว่าอย่าใส่กระโปรงยีนมาในสถานที่ราชการ ไม่สุภาพ หนูอยากถามว่า มันผิดระเบียบหรอคะ
ผมตอบ : ไม่ผิด แต่ก็มองว่าไม่สุภาพได้ เพราะสถานที่ราชการถือว่ายีนไม่สุภาพแม้จะเป็นกางเกงหรือกระโปรงยาว ไม่ค่อยเหมาะที่ใครจะใส่เข้าไปในสถานที่ราชการ โดยเฉพาะเราเป็นครูแม้จะไม่ได้เข้าไปเพื่อคุมสอบก็ตาม
ผู้ถาม : หนูเป็นครู ศรช. วันนี้มีเด็กสอบ หนูไม่ได้คุมสอบและเป็นกรรมการใดๆเลย วันนี้หนูใส่กระโปรงยีน ยาวถึงเข่า ผอ.อำเภอหนูเขาโทรมาบอกครูอีกท่านว่า ให้บอกว่าอย่าใส่กระโปรงยีนมาในสถานที่ราชการ ไม่สุภาพ หนูอยากถามว่า มันผิดระเบียบหรอคะ
ผมตอบ : ไม่ผิด แต่ก็มองว่าไม่สุภาพได้ เพราะสถานที่ราชการถือว่ายีนไม่สุภาพแม้จะเป็นกางเกงหรือกระโปรงยาว ไม่ค่อยเหมาะที่ใครจะใส่เข้าไปในสถานที่ราชการ โดยเฉพาะเราเป็นครูแม้จะไม่ได้เข้าไปเพื่อคุมสอบก็ตาม
( ปัจจุบัน บางคนไม่ถือ ผอ.บางคนไม่ถือ
ก็ไม่ได้หมายความว่า ผอ.คนนี้จะเคร่งครัดมากไป ผอ.เห็นว่าไม่สุภาพก็แนะนำตักเตือน
)
ผู้ถาม : แล้ว ผอ. ใส่กางเกงยีนได้ใช่ไหม
วันนี้ท่านใส่ไปดูคุมสอบ
ผมตอบ : ผอ.ใส่กางเกงยีนเข้าไปในสถานที่ราชการในเวลาทำงานก็ไม่สุภาพเช่นกัน
ผมตอบ : ผอ.ใส่กางเกงยีนเข้าไปในสถานที่ราชการในเวลาทำงานก็ไม่สุภาพเช่นกัน
ผู้ถาม : หนูจะลาออกละ หนูโดน ผอ.คนนี้กดดันมากเลย
หนูไม่มีทางออกเลย หนูทำงานมา 10 ปี
ผมตอบ : อยากให้คิดเงียบๆซัก 3 วันก่อน จึงจะถือว่าไม่วู่วาม ถ้าตัดสินใจวู่วามอาจจะเสียใจภายหลัง
6. เย็นวันที่ 20 ก.ย.58 กานต์ นครสวรรค์ ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า ในการต่อสัญญาพนักงานราชการตำแหน่งครู หลังจากหมดสัญญา 4 ปีแล้ว จะต้องมีใบประกอบวิชาชีพครูแนบในการต่อสัญญาไหม หรือเป็นพนักงานราชการครูมาแล้ว 5 ปี แต่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จะต่อสัญญาได้หรือไม่
ผมตอบ : อยากให้คิดเงียบๆซัก 3 วันก่อน จึงจะถือว่าไม่วู่วาม ถ้าตัดสินใจวู่วามอาจจะเสียใจภายหลัง
6. เย็นวันที่ 20 ก.ย.58 กานต์ นครสวรรค์ ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า ในการต่อสัญญาพนักงานราชการตำแหน่งครู หลังจากหมดสัญญา 4 ปีแล้ว จะต้องมีใบประกอบวิชาชีพครูแนบในการต่อสัญญาไหม หรือเป็นพนักงานราชการครูมาแล้ว 5 ปี แต่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จะต่อสัญญาได้หรือไม่
ผมตอบว่า เรื่องนี้แบ่งเป็น
2
เรื่องที่เป็นคนละส่วนกัน คือ 1) เรื่องการสมัครเป็นพนักงานราชการตำแหน่งครูและการต่อสัญญาของเรา
ซึ่งไม่จำเป็นต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู และ 2) เรื่องใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูซึ่งเป็นกฎหมายของคุรุสภา
1) การสมัครเป็นพนักงานราชการตำแหน่งครูและการต่อสัญญาของเรา ไม่จำเป็นต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู โดยที่มีการกำหนดเพิ่มว่าจะสมัครพนักงานราชการตำแหน่งครู ต้องจบสาขา การศึกษาบัณฑิต ศึกษาศาสตร์บัณฑิต หรือครุศาสตร์บัณฑิต ( ถ้าเป็นลูกจ้าง กศน. จบ ป.บัณฑิตก็ได้ ) นั้น จะมีใบอนุญาติประกอบวิชาชีพครูหรือไม่ก็ไม่เกี่ยว
และการต่อสัญญาก็ไม่เกี่ยวกับวุฒิที่ใช้ตอนสมัครนี้ สามารถต่อสัญญาได้ถ้า ก.พ.ร.เห็นชอบให้ต่อ และผ่านการประเมินตามเกณฑ์
2) เรื่องใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูตามกฎหมายของคุรุสภา คือ ผู้ที่จะเป็นครูสอน กศ.ขั้นพื้นฐานในสถานศึกษาทุกคนต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ถ้าสถานศึกษาจะให้ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูเข้ามาสอน กศ.ขั้นพื้นฐาน จะต้องขอหนัง "อนุญาติให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาติประกอบวิชาชีพ" ครั้งละ 2 ปี ปัจจุบันต่ออายุได้รวม 3 ครั้ง 6 ปี ถ้าครบแล้วยังไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ต้องหยุดสอน กศ.ขั้นพื้นฐาน มิฉะนั้นจะมีความผิดทั้งผู้สอนและสถานศึกษา ( แต่สอน กศ.ต่อเนื่องและ กศ.ตามอัธยาศัยได้ )
7. เช้าวันที่ 21 ก.ย.58 มีผู้ถามในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊คผม ว่า ระเบียบการสอบปลายภาคเรียนของนักศึกษาคนพิการมีอะไรบ้าง แล้วครูผู้สอนคนพิการมีสิทธิ์เขียนข้อความต่างๆบนกระดาษคำตอบแล้วให้ นศ.พิการเขียนเฉพาะชื่อตัวเองในกระดาษคำตอบ แบบนี้ถือว่าทุจริตในการสอบไหม
1) การสมัครเป็นพนักงานราชการตำแหน่งครูและการต่อสัญญาของเรา ไม่จำเป็นต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู โดยที่มีการกำหนดเพิ่มว่าจะสมัครพนักงานราชการตำแหน่งครู ต้องจบสาขา การศึกษาบัณฑิต ศึกษาศาสตร์บัณฑิต หรือครุศาสตร์บัณฑิต ( ถ้าเป็นลูกจ้าง กศน. จบ ป.บัณฑิตก็ได้ ) นั้น จะมีใบอนุญาติประกอบวิชาชีพครูหรือไม่ก็ไม่เกี่ยว
และการต่อสัญญาก็ไม่เกี่ยวกับวุฒิที่ใช้ตอนสมัครนี้ สามารถต่อสัญญาได้ถ้า ก.พ.ร.เห็นชอบให้ต่อ และผ่านการประเมินตามเกณฑ์
2) เรื่องใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูตามกฎหมายของคุรุสภา คือ ผู้ที่จะเป็นครูสอน กศ.ขั้นพื้นฐานในสถานศึกษาทุกคนต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ถ้าสถานศึกษาจะให้ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูเข้ามาสอน กศ.ขั้นพื้นฐาน จะต้องขอหนัง "อนุญาติให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาติประกอบวิชาชีพ" ครั้งละ 2 ปี ปัจจุบันต่ออายุได้รวม 3 ครั้ง 6 ปี ถ้าครบแล้วยังไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ต้องหยุดสอน กศ.ขั้นพื้นฐาน มิฉะนั้นจะมีความผิดทั้งผู้สอนและสถานศึกษา ( แต่สอน กศ.ต่อเนื่องและ กศ.ตามอัธยาศัยได้ )
7. เช้าวันที่ 21 ก.ย.58 มีผู้ถามในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊คผม ว่า ระเบียบการสอบปลายภาคเรียนของนักศึกษาคนพิการมีอะไรบ้าง แล้วครูผู้สอนคนพิการมีสิทธิ์เขียนข้อความต่างๆบนกระดาษคำตอบแล้วให้ นศ.พิการเขียนเฉพาะชื่อตัวเองในกระดาษคำตอบ แบบนี้ถือว่าทุจริตในการสอบไหม
ผมตอบว่า
1) การเข้าสอบปลายภาคของนักศึกษาคนพิการกับนักศึกษาปกติทั่วไป ใช้ระเบียบเดียวกัน
2) ที่ว่าให้ นศ.เขียนเฉพาะชื่อนั้นหมายถึง ครูกาเลือกคำตอบให้ด้วยหรือไง อ่านไม่เข้าใจ
ครูผู้สอนจะเข้าไปช่วยเขียนได้อย่างไร เป็นเรื่องของกรรมการคุมสอบในห้องสอบ อุปกรณ์สำหรับคนพิการไม่มีหรือ ปกติแม้แต่ตาบอดก็ต้องมีอุปกรณ์ให้ทำเอง
แม้คนปกติ ก็มีนโยบายไม่ให้ครูผู้สอนคุมสอบ เพราะจะอดใจช่วยไม่ได้ ถ้าถาม นศ.ว่าจะเลือกข้อไหนแล้วครูกาแทนให้ก็จะอดใจช่วยเลือกข้อถูกให้ไม่ได้
1) การเข้าสอบปลายภาคของนักศึกษาคนพิการกับนักศึกษาปกติทั่วไป ใช้ระเบียบเดียวกัน
2) ที่ว่าให้ นศ.เขียนเฉพาะชื่อนั้นหมายถึง ครูกาเลือกคำตอบให้ด้วยหรือไง อ่านไม่เข้าใจ
ครูผู้สอนจะเข้าไปช่วยเขียนได้อย่างไร เป็นเรื่องของกรรมการคุมสอบในห้องสอบ อุปกรณ์สำหรับคนพิการไม่มีหรือ ปกติแม้แต่ตาบอดก็ต้องมีอุปกรณ์ให้ทำเอง
แม้คนปกติ ก็มีนโยบายไม่ให้ครูผู้สอนคุมสอบ เพราะจะอดใจช่วยไม่ได้ ถ้าถาม นศ.ว่าจะเลือกข้อไหนแล้วครูกาแทนให้ก็จะอดใจช่วยเลือกข้อถูกให้ไม่ได้