สัปดาห์นี้มีเรื่องที่คิดว่าน่าสนใจ
ขอเลือกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7 เรื่อง ดังนี้
1. วันที่ 17 มี.ค.58 Sarinya Doungloy กศน.จ.ยโสธร ถามในอินบ็อกซ์ผม ว่า กศน.อำเภอซื้อชุดลูกเสือให้นักศึกษามาจัดโครงการเข้าค่ายลูกเสือได้ไหม
1. วันที่ 17 มี.ค.58 Sarinya Doungloy กศน.จ.ยโสธร ถามในอินบ็อกซ์ผม ว่า กศน.อำเภอซื้อชุดลูกเสือให้นักศึกษามาจัดโครงการเข้าค่ายลูกเสือได้ไหม
ผมถามคำถามนี้ต่อไปที่ อ.สุณีย์ หน่วยตรวจสอบภายใน กศน. ได้รับคำตอบว่า ซื้อไม่ได้ ไม่มีระเบียบรองรับ และยกตัวอย่างว่า
ที่ กศน.นครปฐม ถูก ส.ต.ง. เรียกเงินคืนแล้ว
ทั้งชุดลูกเสือ ชุดกีฬา เสื้อสุดยอด กศน. ( นครปฐมซื้อแจกเลย
) ผมถามต่อว่า แล้วถ้าซื้อไว้ให้ยืมล่ะ
ได้ไหม อ.สุณีย์ ตอบว่า
เมื่อไม่มีระเบียบรองรับก็ซื้อไม่ได้ ( ซื้อไว้ให้ยืมก็เบาหน่อย ส.ต.ง.บางเขต “อาจจะ” ไม่ทักท้วง แต่ที่ถูกต้องถ้าไม่มีระเบียบรองรับ ซื้อให้ยืมก็ไม่ได้
)
นอกจากนี้ อ.สุณีย์ เล่าให้ฟังต่อว่า ขณะนี้ ส.ต.ง.ส่วนกลาง ที่ตรวจสอบ กศน.เขต กำลังเรียกเงินคืน
ค่าเบี้ยประชุมกรรมการสถานศึกษา ที่จ่ายไปในปีงบประมาณ 2556 จำนวน
50,000 บาท
2. วันที่ 16 มี.ค.58 มุนินทร์ แรงเงา กศน.อ.รัตนวาปี ถามผมในเฟซบุ๊คกลุ่มครูนอกระบบ ว่า มีสถานศึกษามาฝากสอบ มาเรียนกับเรา แต่บางรายวิชาเลือกเราไม่มี จึงคุยกับสถานศึกษาที่ฝากสอบกับเราว่าขอปรับให้ตรงกับรายวิชาเลือกที่สถานศึกษาเรามีได้ไหม แต่หน่วยกิตจะรักษาให้เท่ากับเดิมที่ฝากมา แต่ทางสถานศึกษาที่ฝากสอบมาไม่ยอมปรับให้ ถามว่ากรณีฝากสอบนั้นเราสามารถปรับรายวิชาให้เข้ากับที่เปิดอยู่ได้หรือไม่ จะผิดระเบียบไหม
2. วันที่ 16 มี.ค.58 มุนินทร์ แรงเงา กศน.อ.รัตนวาปี ถามผมในเฟซบุ๊คกลุ่มครูนอกระบบ ว่า มีสถานศึกษามาฝากสอบ มาเรียนกับเรา แต่บางรายวิชาเลือกเราไม่มี จึงคุยกับสถานศึกษาที่ฝากสอบกับเราว่าขอปรับให้ตรงกับรายวิชาเลือกที่สถานศึกษาเรามีได้ไหม แต่หน่วยกิตจะรักษาให้เท่ากับเดิมที่ฝากมา แต่ทางสถานศึกษาที่ฝากสอบมาไม่ยอมปรับให้ ถามว่ากรณีฝากสอบนั้นเราสามารถปรับรายวิชาให้เข้ากับที่เปิดอยู่ได้หรือไม่ จะผิดระเบียบไหม
ผมตอบว่า การฝากเรียน
- ต้องบันทึกประวัติขึ้นทะเบียนทั้งที่สถานศึกษาต้นสังกัด และสถานศึกษาที่รับฝากเรียน โดยสถานศึกษาต้นสังกัดบันทึกประวัติตามปกติ ส่วนสถานศึกษาที่รับฝากเรียนบันทึกประวัติโดยใช้รหัสของต้นสังกัด ในโปรแกรม ITw ที่เมนู 1-1-2 ( ขั้นตอนการดำเนินงาน – บันทึกประวัตินักศึกษา -เพิ่มนักศึกษาฝากเรียน )
- ต้องบันทึกประวัติขึ้นทะเบียนทั้งที่สถานศึกษาต้นสังกัด และสถานศึกษาที่รับฝากเรียน โดยสถานศึกษาต้นสังกัดบันทึกประวัติตามปกติ ส่วนสถานศึกษาที่รับฝากเรียนบันทึกประวัติโดยใช้รหัสของต้นสังกัด ในโปรแกรม ITw ที่เมนู 1-1-2 ( ขั้นตอนการดำเนินงาน – บันทึกประวัตินักศึกษา -เพิ่มนักศึกษาฝากเรียน )
- รายวิชาที่ฝากเรียน
ต้องเป็นวิชาในหลักสูตรสถานศึกษาของทั้ง 2 สถานศึกษา ถ้าเป็นวิชาเลือกที่ไม่เหมือนกัน
ก็ต้องเพิ่มวิชาเลือกนั้นเข้าไปในหลักสูตรสถานศึกษาของทั้ง 2 สถานศึกษา (
การเพิ่มรายวิชาเข้าไปในหลักสูตรสถานศึกษา เพิ่มได้โดยขอความเห็นชอบจากกรรมการสถานศึกษา
) วิชาใดที่ไม่เหมือนกันและสถานศึกษาทั้ง 2
แห่งต่างก็ไม่ยอมเพิ่มให้เหมือนกัน วิชานั้นก็ฝากเรียนไม่ได้
- ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นทั้ง 2 สถานศึกษา แต่
ให้สถานศึกษาต้นสังกัดลงทะเบียนเรียนวิชานั้นหลังสิ้นภาคเรียนแล้ว
โดยลงทะเบียนเรียนย้อนหลังเมื่อได้รับผลการเรียนมาจากสถานศึกษาที่รับฝากเรียนแล้ว เพราะถ้าลงทะเบียนเรียนตั้งแต่ต้นภาคเรียนเมื่อตรวจสอบจะเกิดความซ้ำซ้อน
- การฝากเรียน ต้องฝากสอบด้วย จนได้ผลการเรียน
แล้วสถานศึกษาที่รับฝากเรียนจึงส่งผลการเรียนไปให้สถานศึกษาต้นสังกัดลงทะเบียนเรียนย้อนหลัง
3.
3.
1) หลักการจ้าง ต้องจ้างจากผู้ที่มีความรู้ความสามารถสร้างผลงานดีกว่า ถ้าค่าจ้างเท่ากัน
2) ดูคุณสมบัติการจ้างที่ สำนักงาน กศน.กำหนดไว้ ( ดูได้ที่ https://dl.dropboxusercontent.com/u/109014048/PDF/EmployMaoDoc.pdf ) แต่คณะทำงานที่กำหนดคุณสมบัติการจ้างเหมาบริการตำแหน่งบรรณารักษ์นี้ ก็ฟันธงสับสน ตอนประชุมช่วงแรกกำหนดว่าต้องมีวุฒิทางบรรณารักษ์ศาสตร์ แต่เอกสารออกมาตอนท้ายบอกว่า “หรือมีประสบการณ์”
คุณสมบัติที่กำหนดในเอกสารคือ
“ได้รับวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางบรรณารักษศาสตร์ ทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ทางสารสนเทศศึกษา หรือทางสารนิเทศศาสตร์ หรือทางใดทางหนึ่ง หรือหลายทางดังกล่าว ที่ส่วนราชการเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะงานที่ปฏิบัติ หรือมีประสบการณ์ซึ่งมีความเหมาะสมกับหน้าที่ที่รับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ และมีคุณสมบัติเป็นบรรณารักษ์ที่มีจิตบริการ”
“ได้รับวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางบรรณารักษศาสตร์ ทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ทางสารสนเทศศึกษา หรือทางสารนิเทศศาสตร์ หรือทางใดทางหนึ่ง หรือหลายทางดังกล่าว ที่ส่วนราชการเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะงานที่ปฏิบัติ หรือมีประสบการณ์ซึ่งมีความเหมาะสมกับหน้าที่ที่รับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ และมีคุณสมบัติเป็นบรรณารักษ์ที่มีจิตบริการ”
จากหลักทั้ง 2
ข้อนี้
คิดว่า กศน.นครราชสีมา ในฐานะผู้จ้าง
สามารถกำหนดคุณสมบัติให้จ้างเฉพาะผู้จบทางบรรณารักษ์ได้ ( ผมไม่ทราบนะว่า กศน.นครราชสีมา กำหนดอย่างนี้จริงหรือไม่
)
4. คืนวันที่ 18 มี.ค.58 Jeab Chuenkamol ถามในอินบ็อกซ์ผม ว่า เป็นข้าราชการ ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ จะขออนุญาตไปสอบครูผู้ช่วย ในหนังสือยินยอมให้สอบต้องให้ใครเซ็น ต้องไปถึงระดับเลขาไหม หรือเอาแค่ ผอ.จังหวัด
4. คืนวันที่ 18 มี.ค.58 Jeab Chuenkamol ถามในอินบ็อกซ์ผม ว่า เป็นข้าราชการ ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ จะขออนุญาตไปสอบครูผู้ช่วย ในหนังสือยินยอมให้สอบต้องให้ใครเซ็น ต้องไปถึงระดับเลขาไหม หรือเอาแค่ ผอ.จังหวัด
เรื่องนี้ กจ.กศน.ตอบว่า ถ้าจะสอบโอน
ต้องส่งหนังสือถึงระดับเลขาฯเพื่อลงนามยินยอมให้ไปสอบ ( สอบโอนได้เฉพาะข้าราชการ
)
การสอบโอนคือ ถ้าสอบได้แล้วจะโอนอายุราชการพร้อมเงินเดือนไปด้วย เพื่อจะได้ไม่ต้องไปเริ่มเงินเดือนขั้นต้นใหม่ ( แต่ถ้าอายุราชการยังนิดเดียว เงินเดือนยังขั้นต้น ๆ อยู่ ถ้าสอบได้จะลาออกจากที่เดิมไปบรรจุที่ใหม่ เริ่มต้นใหม่ ไม่ประสงค์จะขอโอน ก็ไม่ต้องยื่นใบนี้ก็ได้ )
5. เย็นวันที่ 23 มี.ค.58 Bai Baidah ถามในอินบ็อกซ์ผม ว่า ในกรณีจัดโครงการแข่งขันกีฬา เราระบุในโครงการเป็นค่าเสื้อกีฬา สามารถเบิกได้หรือเปล่า ตามที่ผมเคยเขียนเรื่องค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬาไว้ในข้อ 7 ที่ https://www.gotoknow.org/posts/539646 โดยนำหนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค 0526.7/28899 ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2544 มาลง ซึ่งหนังสือกรมบัญชีกลางฉบับนี้ระบุว่า
“2. ค่าสกอร์บอร์ด ค่าเช่าเครื่องจับเวลา ค่าชุดนักกีฬาและอุปกรณ์กีฬา ค่าแก๊สจุดคบเพลิง เบิกจ่ายตามหนังสือกระทรวงการคลังที่อ้างถึง 2 (หนังสือที่อ้างถึง 2 คือ หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0526.7/ว 129 ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2539 )
ตอนนี้จัดโครงการแข่งขันกีฬาและระบุค่าใช้จ่ายในโครงการเป็นค่าเสือกีฬา เสร็จเรียนบร้อยแล้ว แต่เมื่อเห็นผมโพสต์เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ว่า สตง.เรียกคืนเงินค่าชุดกีฬา ก็เลยไม่กล้าเบิก จึงถามเพื่อความแน่ใจอีกครั้งหนึ่ง
การสอบโอนคือ ถ้าสอบได้แล้วจะโอนอายุราชการพร้อมเงินเดือนไปด้วย เพื่อจะได้ไม่ต้องไปเริ่มเงินเดือนขั้นต้นใหม่ ( แต่ถ้าอายุราชการยังนิดเดียว เงินเดือนยังขั้นต้น ๆ อยู่ ถ้าสอบได้จะลาออกจากที่เดิมไปบรรจุที่ใหม่ เริ่มต้นใหม่ ไม่ประสงค์จะขอโอน ก็ไม่ต้องยื่นใบนี้ก็ได้ )
5. เย็นวันที่ 23 มี.ค.58 Bai Baidah ถามในอินบ็อกซ์ผม ว่า ในกรณีจัดโครงการแข่งขันกีฬา เราระบุในโครงการเป็นค่าเสื้อกีฬา สามารถเบิกได้หรือเปล่า ตามที่ผมเคยเขียนเรื่องค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬาไว้ในข้อ 7 ที่ https://www.gotoknow.org/posts/539646 โดยนำหนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค 0526.7/28899 ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2544 มาลง ซึ่งหนังสือกรมบัญชีกลางฉบับนี้ระบุว่า
“2. ค่าสกอร์บอร์ด ค่าเช่าเครื่องจับเวลา ค่าชุดนักกีฬาและอุปกรณ์กีฬา ค่าแก๊สจุดคบเพลิง เบิกจ่ายตามหนังสือกระทรวงการคลังที่อ้างถึง 2 (หนังสือที่อ้างถึง 2 คือ หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0526.7/ว 129 ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2539 )
ตอนนี้จัดโครงการแข่งขันกีฬาและระบุค่าใช้จ่ายในโครงการเป็นค่าเสือกีฬา เสร็จเรียนบร้อยแล้ว แต่เมื่อเห็นผมโพสต์เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ว่า สตง.เรียกคืนเงินค่าชุดกีฬา ก็เลยไม่กล้าเบิก จึงถามเพื่อความแน่ใจอีกครั้งหนึ่ง
ผมตอบว่า ถ้าตามไปดูหนังสือที่อ้างถึง
2 คือ หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0526.7/ว129 ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2539
( ดูได้ที่ https://dl.dropboxusercontent.com/u/109014048/PDF/moneyother.pdf
) จะเห็นว่าไม่มีค่าเสื้อกีฬาหรือค่าชุดนักกีฬา
นะ
6. วันที่ 27 มี.ค.58 แดง พัฒนสิน กศน.พิชัย ถามในไทม์ไลน์ผม ว่า การซื้อหมึกเครื่องปริ้นส์เ ลเซอร์ราคาเกิน 5000
บาทต่อหน่วย ด้วยเงินงบประมาณได้หรือเปล ่า ตามความรู้ที่มีน่าจะซื้อได ้ (ค่าวัสดุ ตามหนังสือการจำแนกประเภทรา ยจ่ายตามงบประมาณของสำนักงบ ประมาณ
หมายถึง รายจ่ายดังต่อไปนี้
(1) รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ ่งโดยสภาพเมื่อใช้แล้วย่อมส ิ้นเปลือง
หมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม หรือสิ่งของที่มีลักษณะคงทน ถาวร
และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุ ดไม่เกิน 5,000 บาท ......)
ตัวอย่างรายการสิ่งของที่จั ดเป็นวัสดุโดยสภาพ
เช่น
วัสดุสำนักงาน
- กระดาษ
- หมึก
ส่งหลักฐานเบิกแล้วถูกตีควา มว่าเบิกไม่ได้ ว่าราคาเกิน 5000 บาทต่อหน่วย (เครื่องปริ้นส์มาพร้อมคอมพ ิวเตอร์ที่สำนักงาน
กศน.จัดสรรให้)
6. วันที่ 27 มี.ค.58 แดง พัฒนสิน กศน.พิชัย ถามในไทม์ไลน์ผม ว่า การซื้อหมึกเครื่องปริ้นส์เ
(1) รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ
ตัวอย่างรายการสิ่งของที่จั
วัสดุสำนักงาน
- กระดาษ
- หมึก
ส่งหลักฐานเบิกแล้วถูกตีควา
ผมตอบว่า เข้าใจถูกต้องแล้ว
จริง ๆ แล้ว ประเด็นไม่ได้อยู่ที่ตัวเลข 5,000 แต่ประเด็นจริง ๆ คือ
การซื้อครุภัณฑ์ด้วยเงินงบป ระมาณ ต้องเป็นเงินที่กำหนดให้ซื้ อครุภัณฑ์โดยเฉพาะ
ประเด็นคือ เงินงบดำเนินงาน "ซื้อครุภัณฑ์" ไม่ได้
แต่ที่เกี่ยวกับตัวเลข 5,000 เพราะ มีข้อกำหนดว่า "วัสดุถาวร ที่ราคาเกิน 5,000 บาท ถือเป็นครุภัณฑ์"
ส่วน หมึก ไม่ใช่วัสดุถาวร แต่เป็นวัสดุสิ้นเปลือง ( ใช้แล้วสิ้นเปลืองหมดไป หรือแปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม ) เมื่อไม่ใช่ครุภัณฑ์/ ที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง
แม้ราคาจะเกิน 5,000 บาท ก็ซื้อได้
ในขณะเดียวกัน พัสดุบางอย่างราคาไม่ถึง 5,000 บาท ก็ซื้อไม่ได้ ถ้าในเอกสารการจำแนกประเภทร ายจ่ายฯกำหนดว่าพัสดุนั้ นเป็นครุภัณฑ์
7. เย็นวันอาทิตย์ที่ 29 มี.ค.58 ผมเผยแพร่ในเฟซบุ๊ค เรื่องศัพท์เกี่ยวกับสมเด็จพระเทพรัตนฯ ว่า
จริง ๆ แล้ว ประเด็นไม่ได้อยู่ที่ตัวเลข
ประเด็นคือ เงินงบดำเนินงาน "ซื้อครุภัณฑ์" ไม่ได้
แต่ที่เกี่ยวกับตัวเลข 5,000 เพราะ มีข้อกำหนดว่า "วัสดุถาวร ที่ราคาเกิน 5,000 บาท ถือเป็นครุภัณฑ์"
ส่วน หมึก ไม่ใช่วัสดุถาวร แต่เป็นวัสดุสิ้นเปลือง ( ใช้แล้วสิ้นเปลืองหมดไป หรือแปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม ) เมื่อไม่ใช่ครุภัณฑ์/
ในขณะเดียวกัน พัสดุบางอย่างราคาไม่ถึง 5,000 บาท ก็ซื้อไม่ได้ ถ้าในเอกสารการจำแนกประเภทร
7. เย็นวันอาทิตย์ที่ 29 มี.ค.58 ผมเผยแพร่ในเฟซบุ๊ค เรื่องศัพท์เกี่ยวกับสมเด็จพระเทพรัตนฯ ว่า
ส่วนตามหนังสือ อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร
๒) ต้องใช้ "เนื่องในโอกาส..." ไม่ใช่ "เนื่องในวโรกาส...” เพราะคำว่า
"วโรกาส" ใช้เฉพาะเมื่อ "ขอโอกาส" หรือ “ให้โอกาส” เช่น
“ขอพระราชทานพระราชวโรกาส”
๓) สำหรับเจ้าฟ้าชั้นเอก ต้องใช้ "พระชนมายุ
๖๐ พรรษา" ไม่ใช่ “พระชันษา ๖๐ ปี" ( คำว่า "พระชนมายุ" อ่านว่า
พระ-ชน-นะ-มา-ยุ แปลว่า อายุ )
ส่วนคำว่า “พระชนมพรรษา....พรรษา” จะใช้แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรม ราชินีนาถ
และคำว่า “พระชันษา...ปี”
ใช้แก่ ชั้นพระองค์เจ้า ลงมาถึงชั้นหม่อมเจ้า
ส่วนคำว่า “พระชนมพรรษา....พรรษา” จะใช้แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้
๔) ควรใช้
"ถวายชัยมงคล"
คำว่า "ถวายพระพร" เป็นคำที่พระสงฆ์เป็นผู้ใช้ กับพระบรมวงศานุวงศ์ สำหรับเราทั้งหลายซึ่งไม่ใช ่พระสงฆ์
แนะนำให้ใช้ว่า "ถวายชัยมงคล" ปัจจุบัน
อนุโลมให้ใช้ "ถวายพระพรชัยมงคล" เพื่อกล่าวโดยรวมในกรณีการน ั้นมีผู้แสดงความจงรักภักดี หรือร่วมลงนามทั้งพระและฆรา วาส
คำว่า "ถวายพระพร" เป็นคำที่พระสงฆ์เป็นผู้ใช้
๕) ไม่มีธรรมเนียมการใช้คำว่า "น้อมเกล้าฯ
ถวายพระพรชัยมงคล"
คำว่า น้อมเกล้าฯ หรือ ทูลเกล้าฯ ใช้กับการถวายสิ่งของเท่านั ้น ถ้าของนั้นยกได้
ก็ใช้ว่า ทูลเกล้าฯถวาย ถ้าของหนักยกไม่ได้
ใช้ว่า น้อมเกล้าฯ ถวาย และแม้จะเขียนย่อ เวลาอ่านต้องอ่านเต็มว่า
ทูลเกล้าทูลกระหม่อม น้อมเกล้าน้อมกระหม่อม
คำว่า น้อมเกล้าฯ หรือ ทูลเกล้าฯ ใช้กับการถวายสิ่งของเท่านั
๖) คำลงท้ายเมื่อถวายพระพรชัยม งคลสมเด็จพระเทพฯ
ใช้ว่า "ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม" เท่านั้น ไม่ต้องต่อด้วย ขอเดชะ คำว่า
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ จะใช้แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ เท่านั้น
๗) ต้องใช้คำว่า "แสดงความจงรักภักดี"
หรือ “เพื่อแสดงพลังความจงรักภัก ดี” อย่าใช้ "ถวายความจงรักภักดี" "ความจงรักภักดี" จะนำมาถวายกันไม่ได้ หรือยกให้กันไม่ได้
เพราะเป็นคุณลักษณะส่วนบุคค ล เป็นนามธรรม
๘) การเขียนตัวเลขที่เกี่ยวเนื ่องกับการพระราชพิธี
หรือเกี่ยวกับพระบรมวงศานุว งศ์ ต้องใช้ตัวเลขไทยเท่านั้น
สงสัยเกี่ยวกับค่าตอบแทนครู ปวช. ในกรณีที่นักศึกษาไม่ครบตามที่กำหนด
ตอบลบสงสัยเกี่ยวกับค่าตอบแทนครู ปวช. ในกรณีที่นักศึกษาไม่ครบตามที่กำหนด
ตอบลบนักศึกษาไม่ครบ ก็เบิกตามรายหัว ไม่ใช่เบิก 15,000
ตอบลบกพช 200ชม..เกรณการจบหลักสุตรระดับ.ม.ต้น..ม.ปลาย กศน.ทุกจังหวัด.ถามอะไรก็ตอบ..งง.เรือยเปลือย.
ตอบลบ