สัปดาห์นี้มีเรื่องที่คิดว่าน่าสนใจ
ขอเลือกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7 เรื่อง ดังนี้
1.่
1.่
ผมตอบว่า ถ้าจะทำงานวิชาการประเภทงานวิจัย
ก็ใช้แบบฟอร์มเค้าโครงงานวิจัยได้
( งานวิชาการมีหลายประเภท หนังสือแจ้งไม่ได้กำหนดหัวข้อและแบบฟอร์มเค้าโครง ฉะนั้นเราจะทำเค้าโครงหรือโครงร่างผลงานทางวิชาการรูปแบบใดก็ได้ ทำเป็น 3 บทก็ได้ หรือถ้าทำไม่ทันจะทำย่อๆเพียง 2-3 หน้า ส่งไปก่อนก็ได้ )
2. ฟ้อนต์ ( Font ) สำหรับพิมพ์ตัวอักษรเป็นเส้นประ เพื่อให้ผู้ไม่รู้หนังสือหัดเขียนตามเส้นประ
ลักษณะของแบบอักษร เป็น “แบบเลือก” ตามโครงสร้างมาตรฐานตัวอักษรไทยของราชบัณฑิต
ชื่อฟ้อน Layiji_kutlaimuu ( เลย์อิจิ คัดลายมือ )
ดาวน์โหลดได้ที่ http://www.krooupdate.com/news/newid-460.html
เมื่อดาวน์โหลดและแตกไฟล์จนได้ไฟล์ Layiji_kutlaimuu.ttf แล้ว ให้เปิดไฟล์นี้โดยดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อไฟล์
ถ้ามีการถามว่าจะใช้โปรแกรมอะไรเปิดไฟล์ ให้เลือกเปิดด้วยโปรแกรม Windows Font Viewer
เปิดไฟล์แล้วเลือกที่ Install
เสร็จแล้ว เมื่อเวลาจะพิมพ์เอกสารอะไร ก็จะมีฟ้อนต์ Layiji kutlaimuu ให้เลือกใช้
3. เย็นวันอาทิตย์ที่ 5 ก.ค.58 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า วันที่ 5 ก.ค.ไปสอบสัมภาษณ์ ป.บัณฑิต ที่ราชภัฎนครศรีธรรมราช มีกรรมการที่สอบสัมภาษณ์แจ้งว่า ทางคุรุสภาโทรแจ้งมาที่ราชภัฎว่าปีนี้งดการเข้าเรียน ป.บัณฑิตสำหรับ ครู กศน. อยากทราบข้อเท็จจริงในเรื่องนี้
( งานวิชาการมีหลายประเภท หนังสือแจ้งไม่ได้กำหนดหัวข้อและแบบฟอร์มเค้าโครง ฉะนั้นเราจะทำเค้าโครงหรือโครงร่างผลงานทางวิชาการรูปแบบใดก็ได้ ทำเป็น 3 บทก็ได้ หรือถ้าทำไม่ทันจะทำย่อๆเพียง 2-3 หน้า ส่งไปก่อนก็ได้ )
2. ฟ้อนต์ ( Font ) สำหรับพิมพ์ตัวอักษรเป็นเส้นประ เพื่อให้ผู้ไม่รู้หนังสือหัดเขียนตามเส้นประ
ลักษณะของแบบอักษร เป็น “แบบเลือก” ตามโครงสร้างมาตรฐานตัวอักษรไทยของราชบัณฑิต
ชื่อฟ้อน Layiji_kutlaimuu ( เลย์อิจิ คัดลายมือ )
ดาวน์โหลดได้ที่ http://www.krooupdate.com/news/newid-460.html
เมื่อดาวน์โหลดและแตกไฟล์จนได้ไฟล์ Layiji_kutlaimuu.ttf แล้ว ให้เปิดไฟล์นี้โดยดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อไฟล์
ถ้ามีการถามว่าจะใช้โปรแกรมอะไรเปิดไฟล์ ให้เลือกเปิดด้วยโปรแกรม Windows Font Viewer
เปิดไฟล์แล้วเลือกที่ Install
เสร็จแล้ว เมื่อเวลาจะพิมพ์เอกสารอะไร ก็จะมีฟ้อนต์ Layiji kutlaimuu ให้เลือกใช้
3. เย็นวันอาทิตย์ที่ 5 ก.ค.58 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า วันที่ 5 ก.ค.ไปสอบสัมภาษณ์ ป.บัณฑิต ที่ราชภัฎนครศรีธรรมราช มีกรรมการที่สอบสัมภาษณ์แจ้งว่า ทางคุรุสภาโทรแจ้งมาที่ราชภัฎว่าปีนี้งดการเข้าเรียน ป.บัณฑิตสำหรับ ครู กศน. อยากทราบข้อเท็จจริงในเรื่องนี้
เรื่องนี้ ผมถาม จนท.คุรุสภา
ได้รับคำตอบว่า ไม่เคยมีเรื่องอย่างนี้ เรื่องเกี่ยวกับ กศน.มีเมื่อปีที่แล้วคือ คุรุสภาทำหนังสือแจ้งมาที่สำนักงาน
กศน.ว่า ในระหว่างการเรียน ป.บัณฑิต มีการปฏิบัติการสอน/ฝึกสอน
โดยอาจารย์นิเทศการสอน จะไม่มีเวลามานิเทศการสอนที่ กศน.ในวันเสาร์อาทิตย์
ฉะนั้นครู กศน.ต้องไปสอนที่โรงเรียนในระบบในวันธรรมดา ( สัปดาห์ละ 2 วัน
หรือสัปดาห์ละ 8 ชั่วโมง ) ถ้าครู กศน.รายใดไม่สามารถไปสอนที่โรงเรียนนะระบบในวันธรรมดาได้
ก็ให้งดการเข้าเรียน ป.บัณฑิต ซึ่งสำนักงาน
กศน.แจ้งต่อไปที่สถานศึกษา กศน.ทั่วประเทศ ตั้งแต่ปี 2557 ว่า
ขอให้ผู้บริหารสถานศึกษา กศน. อนุญาตให้ครู กศน.ที่เรียน ป.บัณฑิต
ไปสอนที่โรงเรียนในระบบในวันธรรมดา
( ผมไม่เคยเห็นหนังสือฉบับนี้นะ ใครมีบ้าง ขอดูบ้าง )
4. วันที่ 6 ก.ค.58 กศน.อำเภอบางขัน เขียนต่อที่ผมโพสต์ในเฟซบุ๊คกลุ่มครูนอกระบบ ให้ผู้เรียน ป.บัณฑิต ไปสอนที่โรงเรียนในระบบ ว่า ครู กศน.ตอนนี้สอนในวันปกตินะ ทำไมต้องสอนในโรงเรียนในระบบด้วย ลำบากตรงเราต้องทำหน้าที่ทั้ง 2 ที่
ผมตอบว่า มีส่วนน้อยที่สอนวันปกติเป็นเรื่องเป็นราวเต็มที่ อาจารย์นิเทศเขาจะมาวันไหนเมื่อไรเราก็ต้องสอนให้ดูได้ ฉะนั้นเพื่อความแน่นอนจึงตกลงให้ไปสอนในโรงเรียนปกติที่นักเรียนมาอยู่ให้สอนได้ทั้งวันทุกวัน
ที่ผ่านมามีกรณีที่ว่า "อาจารย์นิเทศมาเช้าวันจันทร์ เราบอกว่านักศึกษา กศน.วันจันทร์มาแต่ตอนบ่าย"
เขามาเสียเที่ยว จนจะไม่ให้ครู กศน.ทั่วประเทศเรียน ป.บัณฑิตแล้ว จึงมีข้อตกลงนี้ออกมา
( ครู กศน.บางคน ก็ไปบอกเขาว่า "ครู กศน.สอนเฉพาะวันหยุด สัปดาห์ละเพียง 6-9 ชั่วโมง"
ถ้าเขารู้ว่าสอนแค่สัปดาห์ละ 6-9 ชั่วโมง แม้แต่หนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ก็ไม่ได้หรอก เขาตรวจตั้งแต่ตอนขอหนังสือนั้นแล้ว โดยให้แนบตารางสอนที่ผู้บริหารรับรองด้วย )
( ผมไม่เคยเห็นหนังสือฉบับนี้นะ ใครมีบ้าง ขอดูบ้าง )
4. วันที่ 6 ก.ค.58 กศน.อำเภอบางขัน เขียนต่อที่ผมโพสต์ในเฟซบุ๊คกลุ่มครูนอกระบบ ให้ผู้เรียน ป.บัณฑิต ไปสอนที่โรงเรียนในระบบ ว่า ครู กศน.ตอนนี้สอนในวันปกตินะ ทำไมต้องสอนในโรงเรียนในระบบด้วย ลำบากตรงเราต้องทำหน้าที่ทั้ง 2 ที่
ผมตอบว่า มีส่วนน้อยที่สอนวันปกติเป็นเรื่องเป็นราวเต็มที่ อาจารย์นิเทศเขาจะมาวันไหนเมื่อไรเราก็ต้องสอนให้ดูได้ ฉะนั้นเพื่อความแน่นอนจึงตกลงให้ไปสอนในโรงเรียนปกติที่นักเรียนมาอยู่ให้สอนได้ทั้งวันทุกวัน
ที่ผ่านมามีกรณีที่ว่า "อาจารย์นิเทศมาเช้าวันจันทร์ เราบอกว่านักศึกษา กศน.วันจันทร์มาแต่ตอนบ่าย"
เขามาเสียเที่ยว จนจะไม่ให้ครู กศน.ทั่วประเทศเรียน ป.บัณฑิตแล้ว จึงมีข้อตกลงนี้ออกมา
( ครู กศน.บางคน ก็ไปบอกเขาว่า "ครู กศน.สอนเฉพาะวันหยุด สัปดาห์ละเพียง 6-9 ชั่วโมง"
ถ้าเขารู้ว่าสอนแค่สัปดาห์ละ 6-9 ชั่วโมง แม้แต่หนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ก็ไม่ได้หรอก เขาตรวจตั้งแต่ตอนขอหนังสือนั้นแล้ว โดยให้แนบตารางสอนที่ผู้บริหารรับรองด้วย )
วาสนา ปานสงฆ์ เขียนต่อ ว่า ปีที่แล้วสอบเพื่อเข้าเรียน ป.บัณฑิตได้
ผ่านทั้งข้อเขียนและสัมภาษณ์แล้ว ถึงวันรายงานตัว ทางราชภัฎไม่รับเข้าเรียน
ให้เหตุผลว่าไม่ใช่สายผู้สอน เพราะเป็นครูอาสา ศฝช. ทาง อ.ราชภัฎโทรหาคุรุสภา
เพื่อจะช่วยให้ได้เรียน แต่คุรุสภาบอกว่าไม่ได้ เลยอดเรียน
ปีนี้เปิดรับสมัครอีกเลยไม่กล้าไปสมัคร
ผมตอบว่า อาจมีคนไปบอกเขาว่า
ปัจจุบันครูอาสาฯไม่ได้สอน
คนของเราที่ไปติดต่อกับเขา ไม่รู้ระเบียบหลักการ ทำให้เสียหายกันไปหมด
เรื่องนี้ คุรุสภาบอกว่า สัญญาจ้างต้องระบุตำแหน่งครูผู้สอน กรณีสัญญาจ้างไม่ระบุตำแหน่งครูผู้สอน ต้องมีเอกสารแนบท้ายสัญญาจ้างระบุให้ปฏิบัติหน้าที่สอน และคำสั่งของสถานศึกษาปีปัจจุบันที่มอบหมายให้ปฏิบัติการสอนฯ ( ถ้าสัญญาจ้างระบุตำแหน่งครูผู้สอน ก็ไม่ต้องแนบเอกสาร/คำสั่ง ) ใช้ระเบียบหลักการนี้ทุกสังกัด
ถ้ามีคนไปบอกเขาว่าครู กศน.ไม่ได้สอน หรือสอนเพียงสัปดาห์ละ 6-9 ชม. ก็จบเลย ไม่ต้องพูดต่อ
ลักษณะเดียวกับ ขรก.ครู ยื่นเรื่องขอเลื่อนวิทยฐานะ ถ้าในคำขอ ระบุ “ภาระงานสอน” ต่ำกว่า 18 ชม./สัปดาห์ ก็จบเลย เขาไม่ตรวจต่อ ไม่ตั้งกรรมการขึ้นมาดูผลงานด้วย ตกตั้งแต่คุณสมบัติเบื้องต้น
คนของเราที่ไปติดต่อกับเขา ไม่รู้ระเบียบหลักการ ทำให้เสียหายกันไปหมด
เรื่องนี้ คุรุสภาบอกว่า สัญญาจ้างต้องระบุตำแหน่งครูผู้สอน กรณีสัญญาจ้างไม่ระบุตำแหน่งครูผู้สอน ต้องมีเอกสารแนบท้ายสัญญาจ้างระบุให้ปฏิบัติหน้าที่สอน และคำสั่งของสถานศึกษาปีปัจจุบันที่มอบหมายให้ปฏิบัติการสอนฯ ( ถ้าสัญญาจ้างระบุตำแหน่งครูผู้สอน ก็ไม่ต้องแนบเอกสาร/คำสั่ง ) ใช้ระเบียบหลักการนี้ทุกสังกัด
ถ้ามีคนไปบอกเขาว่าครู กศน.ไม่ได้สอน หรือสอนเพียงสัปดาห์ละ 6-9 ชม. ก็จบเลย ไม่ต้องพูดต่อ
ลักษณะเดียวกับ ขรก.ครู ยื่นเรื่องขอเลื่อนวิทยฐานะ ถ้าในคำขอ ระบุ “ภาระงานสอน” ต่ำกว่า 18 ชม./สัปดาห์ ก็จบเลย เขาไม่ตรวจต่อ ไม่ตั้งกรรมการขึ้นมาดูผลงานด้วย ตกตั้งแต่คุณสมบัติเบื้องต้น
( มีผู้บอกว่า ครูอาสาฯ ศฝช.
ไม่ได้สอน กศ.ขั้นพื้นฐาน ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
ถ้าจริง ครูอาสาฯ ศฝช.ก็ไม่มีสิทธิเรียน ป.บัณฑิต ผู้ที่สอนแต่การศึกษาต่อเนื่องกับการศึกษาตามอัธยาศัย
ไม่มีสิทธิเข้าโครงการเรียน ป.บัณฑิตนี้ )
5. ค่าขีดจำกัดล่าง ของคะแนนสอบปลายภาค 2/57 สำหรับนำไปกรอกในโปรแกรม ITw เตรียมไว้ทำ SAR ประจำปีงบประมาณ 2558 เพื่อการประเมินฯภายใน
ดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ของ กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ กศน. ที่
http://203.147.62.103/nfetesting/
( ค่าขีดจำกัดล่างคือค่า Y กรอกในโปรแกรม ITw ที่เมนู 1 - A - 1 - 4 กรอกทศนิยมเพียง 2 ตำแหน่ง ตัดตำแหน่งที่ 3 ทิ้งไป ไม่ต้องปัด กรอกเสร็จแล้วอย่าลืมคลิกที่ "บันทึกค่าขีดจำกัดล่าง" )
6. คืนวันที่ 9 ก.ค.58 ผมเผยแพร่สถิติจำนวนสมาชิก ช.พ.ค. ถึงแก่กรรม และเข้าใหม่ ในแต่ละเดือน ลงในเฟซบุ๊ค เพราะเคยมีผู้ถามหลายครั้ง
- งวด มิ.ย.58 เข้าใหม่ 393 คน ถึงแก่กรรม 528 คน คงเหลือ 996,213 คน
- งวด พ.ค.58 เข้าใหม่ 683 คน ถึงแก่กรรม 630 คน คงเหลือ 997,930 คน
- งวด เม.ย.58 เข้าใหม่ 820 คน ถึงแก่กรรม 493 คน คงเหลือ 999,287 คน
- งวด มี.ค.58 เข้าใหม่ 599 คน ถึงแก่กรรม 513 คน คงเหลือ 999,046 คน
- งวด ก.พ.58 เข้าใหม่ 796 คน ถึงแก่กรรม 547 คน คงเหลือ 994,596 คน
- งวด ม.ค.58 เข้าใหม่ 831 คน ถึงแก่กรรม 586 คน คงเหลือ 995,054 คน
5. ค่าขีดจำกัดล่าง ของคะแนนสอบปลายภาค 2/57 สำหรับนำไปกรอกในโปรแกรม ITw เตรียมไว้ทำ SAR ประจำปีงบประมาณ 2558 เพื่อการประเมินฯภายใน
ดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ของ กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ กศน. ที่
http://203.147.62.103/nfetesting/
( ค่าขีดจำกัดล่างคือค่า Y กรอกในโปรแกรม ITw ที่เมนู 1 - A - 1 - 4 กรอกทศนิยมเพียง 2 ตำแหน่ง ตัดตำแหน่งที่ 3 ทิ้งไป ไม่ต้องปัด กรอกเสร็จแล้วอย่าลืมคลิกที่ "บันทึกค่าขีดจำกัดล่าง" )
6. คืนวันที่ 9 ก.ค.58 ผมเผยแพร่สถิติจำนวนสมาชิก ช.พ.ค. ถึงแก่กรรม และเข้าใหม่ ในแต่ละเดือน ลงในเฟซบุ๊ค เพราะเคยมีผู้ถามหลายครั้ง
- งวด มิ.ย.58 เข้าใหม่ 393 คน ถึงแก่กรรม 528 คน คงเหลือ 996,213 คน
- งวด พ.ค.58 เข้าใหม่ 683 คน ถึงแก่กรรม 630 คน คงเหลือ 997,930 คน
- งวด เม.ย.58 เข้าใหม่ 820 คน ถึงแก่กรรม 493 คน คงเหลือ 999,287 คน
- งวด มี.ค.58 เข้าใหม่ 599 คน ถึงแก่กรรม 513 คน คงเหลือ 999,046 คน
- งวด ก.พ.58 เข้าใหม่ 796 คน ถึงแก่กรรม 547 คน คงเหลือ 994,596 คน
- งวด ม.ค.58 เข้าใหม่ 831 คน ถึงแก่กรรม 586 คน คงเหลือ 995,054 คน
ตัวอย่าง งวด เม.ย.58 เก็บเงินค่าสงเคราะห์ศพ ๆ ละ 1
บาท จากสมาชิก 999,287 คน ได้เงิน 999,287
บาท แบ่งเป็น
1) ค่าดำเนินการ 4 %
2) จ่ายให้ทายาทผู้ถึงแก่กรรม 96 % เป็นเงิน 959,316 บาท แบ่งจ่ายดังนี้
- ค่าจัดการศพ จ่ายภายใน 24 ชม. 200,000 บาท
- ที่เหลือจ่ายให้ทายาท ภายใน 30 วัน 759,316 บาท
1) ค่าดำเนินการ 4 %
2) จ่ายให้ทายาทผู้ถึงแก่กรรม 96 % เป็นเงิน 959,316 บาท แบ่งจ่ายดังนี้
- ค่าจัดการศพ จ่ายภายใน 24 ชม. 200,000 บาท
- ที่เหลือจ่ายให้ทายาท ภายใน 30 วัน 759,316 บาท
ดูประกาศข้อมูลจำนวนสมาชิกในแต่ละเดือนได้ที่ http://www.otep.go.th/?p=otep-cpk8
ดู ชื่อ-สกุล สมาชิกที่ถึงแก่กรรมทุกคน ในแต่ละเดือน ได้ที่ http://www.otep.go.th/?p=otep-cpk9
7. เช้าวันที่ 13 ก.ค.58 Mai CK ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า ประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู จะมีหลักสูตรเฉพาะของ กศน.ไหม ไปสอบคัดเลือกมา ให้ผู้เรียนเฉพาะ กศน.ทำหนังสือยินยอมปฎิบัติหน้าที่สอน ในสังกัด สพฐ.เป็นเวลา 2 วัน/สัปดาห์ หรือ 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
เป็นครู กศน.ตั้งแต่ ก.ย.56 ดำเนินการสอนเป็นระยะหนึ่งปี ได้ไปขอหนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพครูโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ซึ่งต้องพัฒนาตนเองโดยการไปเรียน ป.บัณฑิต ภายในระยะ 4 ปี ต่อใบอนุญาตได้ 2 ครั้ง
ครู ศรช. ครู กศน.ที่เข้ามาด้วยกันยังไม่มีหนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพครูโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู จะครบสามปีกว่าแล้วยังไม่ทำอะไรเลย ถ้าไม่มีที่เรียน ป.บัณฑิต หรือสอบไม่ได้ มีสิทธิ์ถูกไล่ออกจากการเป็นครู กศน.ไหม แล้วจะมีมาตรการยังไรกับคนที่ไม่ดำเนินการขอใบอนุญาต กศน.จะมีการสำรวจแล้วพลักดันให้ถูกต้องตามกฎหมายไหม
ดู ชื่อ-สกุล สมาชิกที่ถึงแก่กรรมทุกคน ในแต่ละเดือน ได้ที่ http://www.otep.go.th/?p=otep-cpk9
7. เช้าวันที่ 13 ก.ค.58 Mai CK ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ค ว่า ประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู จะมีหลักสูตรเฉพาะของ กศน.ไหม ไปสอบคัดเลือกมา ให้ผู้เรียนเฉพาะ กศน.ทำหนังสือยินยอมปฎิบัติหน้าที่สอน ในสังกัด สพฐ.เป็นเวลา 2 วัน/สัปดาห์ หรือ 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
เป็นครู กศน.ตั้งแต่ ก.ย.56 ดำเนินการสอนเป็นระยะหนึ่งปี ได้ไปขอหนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพครูโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ซึ่งต้องพัฒนาตนเองโดยการไปเรียน ป.บัณฑิต ภายในระยะ 4 ปี ต่อใบอนุญาตได้ 2 ครั้ง
ครู ศรช. ครู กศน.ที่เข้ามาด้วยกันยังไม่มีหนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพครูโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู จะครบสามปีกว่าแล้วยังไม่ทำอะไรเลย ถ้าไม่มีที่เรียน ป.บัณฑิต หรือสอบไม่ได้ มีสิทธิ์ถูกไล่ออกจากการเป็นครู กศน.ไหม แล้วจะมีมาตรการยังไรกับคนที่ไม่ดำเนินการขอใบอนุญาต กศน.จะมีการสำรวจแล้วพลักดันให้ถูกต้องตามกฎหมายไหม
ผมตอบว่า ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู และไม่มี
"หนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาติประกอบวิชาชีพ"
หรือเคยมีแต่หมดอายุยังไม่ได้ต่ออายุหรือต่อไม่ได้แล้ว ( ปัจจุบันให้ต่อได้อีก
2 รอบ รวมเป็น 6 ปีแล้ว ) ถ้ายังทำการสอน กศ.ขั้นพื้นฐาน ประถม ม.ต้น
ม.ปลาย ในสถานศึกษา ( สอน กศ.ต่อเนื่อง และ กศ.ตามอัธยาศัย ไม่เป็นไร )
จะมีความผิดทั้งผู้สอนและสถานศึกษา แต่เมื่อไม่มีผู้ร้องเรียน
คุรุสภาก็ไม่รู้ เมื่อไม่รู้ก็ไม่เกิดอะไรขึ้น ถ้ามีผู้ร้องเรียนจึงจะมีปัญหา
ฉะนั้นทั้งครูและผู้บริหารจึงไม่ค่อยสนใจ จะสนใจก็ตอนที่จะเรียน ป.บัณฑิต
หลักสูตร ป.บัณฑิต ไม่มีหลักสูตรสำหรับสังกัดใดโดยเฉพาะ แต่ที่กำหนดให้ครู กศน.ไปสอนที่โรงเรียนในระบบ เพราะที่ผ่านมาเกิดปัญหาอาจารย์มหาวิทยาลัยมานิเทศการฝึกปฏิบัติการสอนของครู กศน.ที่เรียน ป.บัณฑิต โดยมานิเทศที่ กศน.ในวันธรรมดา แล้วไม่พบการสอน ส่วนวันเสาร์-อาทิตย์ อาจารย์เขาก็ต้องสอนในมหาวิทยาลัย มานิเทศไม่ได้
หลักสูตร ป.บัณฑิต ไม่มีหลักสูตรสำหรับสังกัดใดโดยเฉพาะ แต่ที่กำหนดให้ครู กศน.ไปสอนที่โรงเรียนในระบบ เพราะที่ผ่านมาเกิดปัญหาอาจารย์มหาวิทยาลัยมานิเทศการฝึกปฏิบัติการสอนของครู กศน.ที่เรียน ป.บัณฑิต โดยมานิเทศที่ กศน.ในวันธรรมดา แล้วไม่พบการสอน ส่วนวันเสาร์-อาทิตย์ อาจารย์เขาก็ต้องสอนในมหาวิทยาลัย มานิเทศไม่ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อสงสัย