สัปดาห์นี้มีเรื่องที่คิดว่าน่าสนใจ
ขอเลือกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7 เรื่อง ดังนี้
1. วันที่ 20 เมย.61 มี กศน.เขต โทร.ถามผมว่า พิมพ์ชื่อ นศ.ผิด ออกใบ รบ.ไปนานแล้ว ( หลักสูตร 2544 ) นศ.นำใบ รบ.ไปเคลือบพลาสติกแล้ว เพิ่งนำกลับมาขอให้แก้ชื่อ จะต้องทำอย่างไร
1. วันที่ 20 เมย.61 มี กศน.เขต โทร.ถามผมว่า พิมพ์ชื่อ นศ.ผิด ออกใบ รบ.ไปนานแล้ว ( หลักสูตร 2544 ) นศ.นำใบ รบ.ไปเคลือบพลาสติกแล้ว เพิ่งนำกลับมาขอให้แก้ชื่อ จะต้องทำอย่างไร
เรื่องนี้ ผมได้ปรึกษาหารือกับ คุณกิตติพงษ์ กลุ่มพัฒนา
กศน. แล้วตอบว่า ในส่วนของการแก้ไขใบ รบ.
ต้องทำเป็น 2 ขั้นตอน เพราะเคลือบพลาสติกไปแล้ว ดังนี้
- ขั้นตอนที่ 1 แก้ไขในใบ รบ. กรณีที่เขียนผิดหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล โดยให้ขีดฆ่าข้อความที่เขียนผิดหรือต้องการเปลี่ยนแปลง แล้วเขียนข้อความที่ถูกต้องหรือต้องการ ไว้ข้างบน แล้วนายทะบียนลงนามกำกับไว้ โดยแก้ไขทั้ง 2 ฉบับ
แต่เนื่องจากคู่ฉบับที่ให้ นศ. เคลือบพลาสติกแล้วจึงไม่สามารถแก้ไขในใบ รบ.ได้ ถ้าแกะพลาสติกออกก็จะชำรุดฉีกขาด จึงต้องมีขั้นตอนที่ 2
- ขั้นตอนที่ 2 ( ถือว่าแก้ไขขั้นตอนที่ 1 ทั้ง 2 ฉบับแล้ว แต่ฉบับของ นศ.ชำรุด ) นศ.มาขอใบ รบ.ใหม่ เพราะใบ รบ.ชำรุดสูญหาย ซึ่งหลักสูตร 2544 ยังไม่ยกเลิกใบ รบ. ( "เปลี่ยน" หลักสูตร กับการ "ยกเลิก" แบบพิมพ์ใบ รบ. เป็นคนละเรื่องกัน ดูในข้อ 2 ที่ http://nfeph.blogspot.com/2017/05/rdnfe-n-net-2-44-3-4-5-6-7.html )
กศน.ไม่มีระเบียบให้ใช้วิธีถ่ายเอกสาร ต้องออกให้ใหม่ด้วยแบบพิมพ์ที่ซื้อจากองค์การค้าของ สกสค. ( ฉบับสำเนาที่เว้นที่ว่างให้เติม ชุดที่ เลขที่ ตามต้นฉบับ ) แต่บางแห่งซื้อไม่ได้เพราะทั้งผู้ขายและผู้ซื้อต่างก็ไม่รู้จัก เรียกชื่อไม่ถูก บางสาขาไม่นำมาจำหน่าย อาจขอจากสถานศึกษา กศน.อื่นที่มีอยู่
2. วันที่ 23 เม.ย.61 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์แฟนเพจเฟซบุ๊ก ว่า นศ.ระดับม.ต้น จบตามโครงสร้างหลักสูตร แค่ไม่สามารถจบได้ เนื่องจาก อายุครบ15 ปีบริบูรณ์วันที่ 13 พ.ค นี้ แต่นศ.ต้องการวุฒิเพื่อไปศึกษาต่อที่อื่น ขอถามว่า เราสามารถออกอนุมัติจบไม่พร้อมรุ่น หลังจากวันที่ 13 พ.ค ได้มั้ย
- ขั้นตอนที่ 1 แก้ไขในใบ รบ. กรณีที่เขียนผิดหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล โดยให้ขีดฆ่าข้อความที่เขียนผิดหรือต้องการเปลี่ยนแปลง แล้วเขียนข้อความที่ถูกต้องหรือต้องการ ไว้ข้างบน แล้วนายทะบียนลงนามกำกับไว้ โดยแก้ไขทั้ง 2 ฉบับ
แต่เนื่องจากคู่ฉบับที่ให้ นศ. เคลือบพลาสติกแล้วจึงไม่สามารถแก้ไขในใบ รบ.ได้ ถ้าแกะพลาสติกออกก็จะชำรุดฉีกขาด จึงต้องมีขั้นตอนที่ 2
- ขั้นตอนที่ 2 ( ถือว่าแก้ไขขั้นตอนที่ 1 ทั้ง 2 ฉบับแล้ว แต่ฉบับของ นศ.ชำรุด ) นศ.มาขอใบ รบ.ใหม่ เพราะใบ รบ.ชำรุดสูญหาย ซึ่งหลักสูตร 2544 ยังไม่ยกเลิกใบ รบ. ( "เปลี่ยน" หลักสูตร กับการ "ยกเลิก" แบบพิมพ์ใบ รบ. เป็นคนละเรื่องกัน ดูในข้อ 2 ที่ http://nfeph.blogspot.com/2017/05/rdnfe-n-net-2-44-3-4-5-6-7.html )
กศน.ไม่มีระเบียบให้ใช้วิธีถ่ายเอกสาร ต้องออกให้ใหม่ด้วยแบบพิมพ์ที่ซื้อจากองค์การค้าของ สกสค. ( ฉบับสำเนาที่เว้นที่ว่างให้เติม ชุดที่ เลขที่ ตามต้นฉบับ ) แต่บางแห่งซื้อไม่ได้เพราะทั้งผู้ขายและผู้ซื้อต่างก็ไม่รู้จัก เรียกชื่อไม่ถูก บางสาขาไม่นำมาจำหน่าย อาจขอจากสถานศึกษา กศน.อื่นที่มีอยู่
2. วันที่ 23 เม.ย.61 มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์แฟนเพจเฟซบุ๊ก ว่า นศ.ระดับม.ต้น จบตามโครงสร้างหลักสูตร แค่ไม่สามารถจบได้ เนื่องจาก อายุครบ15 ปีบริบูรณ์วันที่ 13 พ.ค นี้ แต่นศ.ต้องการวุฒิเพื่อไปศึกษาต่อที่อื่น ขอถามว่า เราสามารถออกอนุมัติจบไม่พร้อมรุ่น หลังจากวันที่ 13 พ.ค ได้มั้ย
ผมตอบว่า ได้
ผู้ถาม ถามต่ออีกว่า การอนุมัติหลักสูตรไม่พร้อมรุ่นนี้ จะต้องอนุมัติก่อนเปิดภาคเรียนถัดไปหรือเปล่า เช่นของ กศน.ร.ร เปิด 1 พ.ค และร.ร ในระบบเปิด 16 พ ค แต่อนุมัติจบ 14 พ.ค จะได้มั้ย
ผู้ถาม ถามต่ออีกว่า การอนุมัติหลักสูตรไม่พร้อมรุ่นนี้ จะต้องอนุมัติก่อนเปิดภาคเรียนถัดไปหรือเปล่า เช่นของ กศน.ร.ร เปิด 1 พ.ค และร.ร ในระบบเปิด 16 พ ค แต่อนุมัติจบ 14 พ.ค จะได้มั้ย
ผมตอบว่า อนุมัติจบได้ทุกวัน
ภาคเรียนหนึ่งอนุมัติจบกี่ครั้งก็ได้ บางครั้งมีผู้จบคนเดียวก็ได้
ถ้าอนุมัติจบในช่วงปิดเทอม จะถือว่าจบในภาคเรียนที่ผ่านมา
แต่ถ้าอนุมัติจบหลังวันเปิดภาคเรียนแล้ว จะถือว่าจบในภาคเรียนใหม่นั้น
( ทั้งผู้ที่จบในช่วงปิดภาคเรียน หลังรายงาน GPA ไปแล้ว คือจบในภาคเรียนก่อน และผู้ที่จบต้นภาคเรียนใหม่นี้ ให้นำไปรวมรายงาน GPA หลังปิดภาคเรียนใหม่นี้ )
ถ้าอนุมัติจบในช่วงปิดเทอม จะถือว่าจบในภาคเรียนที่ผ่านมา
แต่ถ้าอนุมัติจบหลังวันเปิดภาคเรียนแล้ว จะถือว่าจบในภาคเรียนใหม่นั้น
( ทั้งผู้ที่จบในช่วงปิดภาคเรียน หลังรายงาน GPA ไปแล้ว คือจบในภาคเรียนก่อน และผู้ที่จบต้นภาคเรียนใหม่นี้ ให้นำไปรวมรายงาน GPA หลังปิดภาคเรียนใหม่นี้ )
ลองดูคำตอบเดิมในข้อ 2 ที่ http://nfeph.blogspot.com/2014/05/26.html
( ใครบอกคุณว่า กศน.เปิดภาคเรียน 1 พ.ค. ดูในคู่มือการดำเนินงานฉบับปรับปรุงปกสีเลือดหมู หน้า 63 นะ )
3. คืนวันเดียวกัน ( 23 เม.ย.) มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ก ว่า โครงการประชุมไทยนิยมฯ มีเลี้ยงอาหารกลางวัน..เรา (ครู กศน.ตำบลและผู้บริหาร) เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงได้เต็มจำนวน(240/วัน)..เพราะไม่ใช่โครงการอบรม..ถูกหรือเปล่า
( ใครบอกคุณว่า กศน.เปิดภาคเรียน 1 พ.ค. ดูในคู่มือการดำเนินงานฉบับปรับปรุงปกสีเลือดหมู หน้า 63 นะ )
3. คืนวันเดียวกัน ( 23 เม.ย.) มีผู้ถามผมในอินบ็อกซ์เฟซบุ๊ก ว่า โครงการประชุมไทยนิยมฯ มีเลี้ยงอาหารกลางวัน..เรา (ครู กศน.ตำบลและผู้บริหาร) เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงได้เต็มจำนวน(240/วัน)..เพราะไม่ใช่โครงการอบรม..ถูกหรือเปล่า
ผมตอบว่า โครงการประชุมที่ส่วนกลางจัดนี้
เป็นการจัดประชุมตาม "ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ" เมื่อโครงการจัดอาหารมื้อหลักเป็นอาหารกลางวันให้วันละมื้อ
ผู้เข้าประชุมก็จะเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเต็มไม่ได้ จะเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงได้ 2 ใน 3 (
ผู้ที่ต่ำกว่าเชี่ยวชาญ เบิกได้วันละ 160 บาท )
4. หลังจากผมเผยแพร่การตอบผู้ถาม เรื่องการไปประชุมไทยนิยมยั่งยืนที่ส่วนกลางจัด ว่าเบิกเบี้ยเลี้ยงได้เพียง 2 ใน 3 เพราะมีการเลี้ยงอาหารกลางวัน
ปรากฏว่าคืนวันที่ 24 เ.ม.ย.61 ผู้ถาม แจ้งผมทางอินบ็อกซ์ ในลักษณะว่า การเผยแพร่ทำให้ โดนบ่นทั้งจังหวัด ว่าทำให้เบิกไม่ได้เต็ม ( ลักษณะถูกด่า ถูกรังเกียจ )
4. หลังจากผมเผยแพร่การตอบผู้ถาม เรื่องการไปประชุมไทยนิยมยั่งยืนที่ส่วนกลางจัด ว่าเบิกเบี้ยเลี้ยงได้เพียง 2 ใน 3 เพราะมีการเลี้ยงอาหารกลางวัน
ปรากฏว่าคืนวันที่ 24 เ.ม.ย.61 ผู้ถาม แจ้งผมทางอินบ็อกซ์ ในลักษณะว่า การเผยแพร่ทำให้ โดนบ่นทั้งจังหวัด ว่าทำให้เบิกไม่ได้เต็ม ( ลักษณะถูกด่า ถูกรังเกียจ )
ผมตอบว่า การเผยแพร่เรื่องไม่ถูกต้องของหน่วยงาน
ผมโดนหนักกว่าคุณหลายเท่า แต่ผมไม่สนใจ
เพราะผมรู้เจตนาของตัวเองว่าทำเพื่อส่วนรวมไม่ใช่เพื่อส่วนตัว ( ค่านิยม ข้อ 12
คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม )
คำว่าส่วนรวมนี้ไม่ใช่ตนเองหรือแม้แต่กลุ่มพวกของตน
แต่คือประเทศชาติบ้านเมือง
ถ้าใครจะเน้นด่าคนเผยแพร่ มากกว่าเน้นการตระหนักในปัญหาและจริงใจในการแก้ปัญหา ผมก็แค่ไม่สบายใจกับประเทศชาติบ้านเมือง
5. คืนวันที่ 25 เม.ย.61 ประไพพัฒน์ เผ่าเจริญ ถามในกลุ่มไลน์ ITw NFE ว่า "แสดงว่าคนที่ลงเรียนประวัติศาสตร์ชาติไทยเสรีไปแล้ว ต้องลงเรียนประวัติศาสตร์ชาติไทยเลือกบังคับ อีกใช่ม้ายค่ะ"
ถ้าใครจะเน้นด่าคนเผยแพร่ มากกว่าเน้นการตระหนักในปัญหาและจริงใจในการแก้ปัญหา ผมก็แค่ไม่สบายใจกับประเทศชาติบ้านเมือง
5. คืนวันที่ 25 เม.ย.61 ประไพพัฒน์ เผ่าเจริญ ถามในกลุ่มไลน์ ITw NFE ว่า "แสดงว่าคนที่ลงเรียนประวัติศาสตร์ชาติไทยเสรีไปแล้ว ต้องลงเรียนประวัติศาสตร์ชาติไทยเลือกบังคับ อีกใช่ม้ายค่ะ"
ผมตอบว่า ปัจจุบัน กศน.มีวิชาชื่อซ้ำกันว่า
“วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย” 2 วิชา รหัสต่างกัน วิชาหนึ่งเป็นวิชาเลือกเสรี
อีกวิชาหนึ่งเป็นวิชาเลือกบังคับ เนื้อหาคล้ายกัน
ซึ่งปัจจุบัน (
เม.ย.61 ) มีวิชาเลือกบังคับ 6 วิชา (
ไม่รวมวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยที่เรียนในภาคเรียนที่ 2/60 ) ระดับประถม วิชาละ 2 หน่วยกิตทุกวิชา ระดับ ม.ต้น-ปลาย วิชาละ 3 หน่วยกิตทุกวิชา
โดยวิชาเลือกบังคับใหม่ 2 วิชา มีชื่อและรหัสดังนี้
1) วิชา “ลูกเสือ กศน.” ( ไม่ใช่ชื่อวิชา ลูกเสือวิสามัญ นะ )
- ระดับประถม สค12025
- ระดับ ม.ต้น สค22021
- ระดับ ม.ปลาย สค32035
2) วิชา “ประวัติศาสตร์ชาติไทย” รหัสวิชาต่างจากวิชาที่เรียนภาคเรียนที่แล้ว โดยรหัสวิชาเลือกบังคับ คือ
- ระดับประถม สค12024
- ระดับ ม.ต้น สค22020
- ระดับ ม.ปลาย สค32034
โดยวิชาเลือกบังคับใหม่ 2 วิชา มีชื่อและรหัสดังนี้
1) วิชา “ลูกเสือ กศน.” ( ไม่ใช่ชื่อวิชา ลูกเสือวิสามัญ นะ )
- ระดับประถม สค12025
- ระดับ ม.ต้น สค22021
- ระดับ ม.ปลาย สค32035
2) วิชา “ประวัติศาสตร์ชาติไทย” รหัสวิชาต่างจากวิชาที่เรียนภาคเรียนที่แล้ว โดยรหัสวิชาเลือกบังคับ คือ
- ระดับประถม สค12024
- ระดับ ม.ต้น สค22020
- ระดับ ม.ปลาย สค32034
นศ.ทั่วไปจะต้องเรียนอย่างน้อย
2 วิชา ใน 6 วิชาเลือกบังคับ จึงจะจบ
จะเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย(ที่เป็นวิชาเลือกบังคับ) หรือวิชาอื่นก็ได้ ให้ครบ 2 วิชา
จะเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย(ที่เป็นวิชาเลือกบังคับ) หรือวิชาอื่นก็ได้ ให้ครบ 2 วิชา
นศ.ของคุณประไพพัฒน์
เรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยภาคเรียนที่แล้ว เพราะเข้าใจว่าเป็นวิชาเลือกบังคับหรือเปล่า
เขาจะจบหรือยัง ถ้ายังไม่จบก็ให้เขาเรียนวิชาเลือกบังคับใดก็ได้ให้ครบ 2 วิชา จะเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยใหม่ก็ได้ ถ้าเป็นคนละรหัสก็ถือว่าเป็นคนละวิชา เรียนอีกได้ แม้เนื้อหาจะคล้ายกัน โดยวิชาที่เรียนในภาคเรียนที่แล้วก็เป็นวิชาเลือกเสรีไป
หรือจะไม่เรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยใหม่ แต่เรียนวิชาเลือกบังคับอื่นให้ครบ 2 วิชาก็ได้
6. วันเดียวกัน ( 25 เม.ย.) มีผู้ถามในกลุ่มไลน์ ITw NFE ว่า เนื่องจากการลงประวัติผู้เรียนตามระเบียนแสดงผลการเรียนเด็กเป็นมัธยมศึกษาตอนต้น มันหาก็คือท่านผอ.ให้แก้รบ.เด็กเขาจบในระบบมาต้องเป็นม.3 ถ้าใช้ม.3ฉันต้องพิมพ์ระเบียนผลการเรียนใหม่ ตามวุฒิเดิมเขามัธยมศึกษาตอนต้นไม่ใข่ม.3ฉันเลยอยากหาเอกสารยื่นยันท่านผอ.
เขาจะจบหรือยัง ถ้ายังไม่จบก็ให้เขาเรียนวิชาเลือกบังคับใดก็ได้ให้ครบ 2 วิชา จะเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยใหม่ก็ได้ ถ้าเป็นคนละรหัสก็ถือว่าเป็นคนละวิชา เรียนอีกได้ แม้เนื้อหาจะคล้ายกัน โดยวิชาที่เรียนในภาคเรียนที่แล้วก็เป็นวิชาเลือกเสรีไป
หรือจะไม่เรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยใหม่ แต่เรียนวิชาเลือกบังคับอื่นให้ครบ 2 วิชาก็ได้
6. วันเดียวกัน ( 25 เม.ย.) มีผู้ถามในกลุ่มไลน์ ITw NFE ว่า เนื่องจากการลงประวัติผู้เรียนตามระเบียนแสดงผลการเรียนเด็กเป็นมัธยมศึกษาตอนต้น มันหาก็คือท่านผอ.ให้แก้รบ.เด็กเขาจบในระบบมาต้องเป็นม.3 ถ้าใช้ม.3ฉันต้องพิมพ์ระเบียนผลการเรียนใหม่ ตามวุฒิเดิมเขามัธยมศึกษาตอนต้นไม่ใข่ม.3ฉันเลยอยากหาเอกสารยื่นยันท่านผอ.
ผมตอบว่า ถาม ผอ. ว่า
ผอ.เอาระเบียบหลักเกณฑ์ที่ว่าจบในระบบต้องเรียก ม.3 มาจากไหน ขอให้
ผอ.หาเอกสารมายืนยัน
ไม่รู้ว่าคุณหรือใคร เคยบอกผมว่า ผอ.บอกว่า ถ้าจบในระบบให้ใช้ ม.3 เท่านั้น
ผมหาเอกสารหลักฐานตามที่ ผอ.บอกนี้ ไม่พบ
ที่จริงในระบบ ก็มีหลายหลักสูตร ทั้งหลักสูตรใหม่ หลักสูตรเก่า หลักสูตรเก่ามาก แต่ละหลักสูตรอาจเรียกต่างกัน
ที่ถูกต้อง ต้องลงตามที่ใบระเบียนเขาระบุไว้
ใบระเบียนเขาคือเอกสารยืนยัน
แต่เรื่องนี้ก็ไม่ใช่เรื่องใหญ่
ไม่รู้ว่าคุณหรือใคร เคยบอกผมว่า ผอ.บอกว่า ถ้าจบในระบบให้ใช้ ม.3 เท่านั้น
ผมหาเอกสารหลักฐานตามที่ ผอ.บอกนี้ ไม่พบ
ที่จริงในระบบ ก็มีหลายหลักสูตร ทั้งหลักสูตรใหม่ หลักสูตรเก่า หลักสูตรเก่ามาก แต่ละหลักสูตรอาจเรียกต่างกัน
ที่ถูกต้อง ต้องลงตามที่ใบระเบียนเขาระบุไว้
ใบระเบียนเขาคือเอกสารยืนยัน
แต่เรื่องนี้ก็ไม่ใช่เรื่องใหญ่
7. คืนวันเดียวกัน
( 25 เม.ย.) มีผู้ถามในกลุ่มไลน์ ITw NFE เรื่องการโอน กพช.
ผมตอบว่า การโอนและการเทียบโอน กพช. มี 2 ประเภท คือ
กพช.ที่ นศ.ทำเองนอกหลักสูตร กับ กพช.ที่ นศ.ทำระหว่างเรียน
กศ.ขั้นพื้นฐานในหลักสูตรและ/หรือสถานศึกษาอื่น ดังนี้
1) กิจกรรมพัฒนาตนเองชุมชนสังคมและกิจกรรมจิตอาสา ที่ นศ.ทำเอง ก่อนขึ้นทะเบียนเป็น นศ. สามารถเทียบโอนเป็น กพช.ได้ไม่เกิน 150 ชม. โดยกิจกรรมใดใช้เทียบโอนในระดับใดแล้ว จะใช้เทียบโอนในระดับอื่นอีกไม่ได้ และถ้าใช้เทียบโอนเป็น กพช.แล้ว กิจกรรมนั้นจะใช้เทียบโอนเป็นรายวิชาอีกไม่ได้ ดูรายละเอียดในเอกสารที่
https://www.dropbox.com/s/076dsp7falp0tnn/TeabGPSh.pdf?dl=1
2) กิจกรรม กพช.ที่ นศ.ทำระหว่างเรียน กศ.ขั้นพื้นฐานใน หลักสูตร และ/หรือ สถานศึกษาอื่น จะมีทั้งกรณีที่เทียบโอนไม่ได้ และโอนได้ ดังนี้
- กรณี กพช.ที่ทำในระหว่างเรียน กศ.ขั้นพื้นฐานในหลักสูตรอื่น จะเทียบโอนไม่ได้เลย ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรในระบบโรงเรียน หรือแม้แต่หลักสูตร กศน.2544 ก็เทียบโอน กพช.มาหลักสูตร กศน.2551 ไม่ได้
- กรณี กพช.ที่ทำในระหว่างเรียน กศ.ขั้นพื้นฐานในหลักสูตรเดียวกัน ในสถานศึกษาอื่น คือ หลักสูตร กศน.2551 ที่เรียนจาก กศน.แห่งอื่นแล้วย้ายโดยลาออกมาเรียนหลักสูตร กศน.2551 ต่อที่สถานศึกษา กศน.แห่งใหม่ สามารถ “โอน” กพช.ได้ทั้งหมด ( ไม่ใช่ไม่เกิน 150 ชม. ) กรณีหลักสูตรเดียวกันนี้ ถือเป็นการ “โอน” ไม่ใช่ “เทียบโอน” ซึ่งนายทะเบียนดำเนินการเองได้เลย ไม่ต้องทำในรูปคณะกรรมการเหมือนการเทียบโอน
แต่ การบันทึกในโปรแกรม ITw ยังไม่มีเมนูการโอน กพช.โดยตรง ให้ใช้วิธีบันทึกในเมนู 1 - 4 - 1 ( ขั้นตอนการดำเนินงาน - บันทึก กพช.และการประเมินคุณธรรม - บันทึกการทำกิจกรรม ) บันทึกในภาคเรียนที่มาสมัครเรียน โดยในช่อง "กิจกรรม" ให้ลงว่า "ทำ กพช.ที่สถานศึกษาเดิม หลักสูตรเดียวกัน"
แล้วถ่ายเอกสารใบ รบ. ที่ระบุจำนวนชั่วโมง กพช. เก็บไว้เป็นหลักฐาน แทนเอกสารหลักฐานการทำกิจกรรม กพช. ของนักศึกษาคนนั้น
1) กิจกรรมพัฒนาตนเองชุมชนสังคมและกิจกรรมจิตอาสา ที่ นศ.ทำเอง ก่อนขึ้นทะเบียนเป็น นศ. สามารถเทียบโอนเป็น กพช.ได้ไม่เกิน 150 ชม. โดยกิจกรรมใดใช้เทียบโอนในระดับใดแล้ว จะใช้เทียบโอนในระดับอื่นอีกไม่ได้ และถ้าใช้เทียบโอนเป็น กพช.แล้ว กิจกรรมนั้นจะใช้เทียบโอนเป็นรายวิชาอีกไม่ได้ ดูรายละเอียดในเอกสารที่
https://www.dropbox.com/s/076dsp7falp0tnn/TeabGPSh.pdf?dl=1
2) กิจกรรม กพช.ที่ นศ.ทำระหว่างเรียน กศ.ขั้นพื้นฐานใน หลักสูตร และ/หรือ สถานศึกษาอื่น จะมีทั้งกรณีที่เทียบโอนไม่ได้ และโอนได้ ดังนี้
- กรณี กพช.ที่ทำในระหว่างเรียน กศ.ขั้นพื้นฐานในหลักสูตรอื่น จะเทียบโอนไม่ได้เลย ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรในระบบโรงเรียน หรือแม้แต่หลักสูตร กศน.2544 ก็เทียบโอน กพช.มาหลักสูตร กศน.2551 ไม่ได้
- กรณี กพช.ที่ทำในระหว่างเรียน กศ.ขั้นพื้นฐานในหลักสูตรเดียวกัน ในสถานศึกษาอื่น คือ หลักสูตร กศน.2551 ที่เรียนจาก กศน.แห่งอื่นแล้วย้ายโดยลาออกมาเรียนหลักสูตร กศน.2551 ต่อที่สถานศึกษา กศน.แห่งใหม่ สามารถ “โอน” กพช.ได้ทั้งหมด ( ไม่ใช่ไม่เกิน 150 ชม. ) กรณีหลักสูตรเดียวกันนี้ ถือเป็นการ “โอน” ไม่ใช่ “เทียบโอน” ซึ่งนายทะเบียนดำเนินการเองได้เลย ไม่ต้องทำในรูปคณะกรรมการเหมือนการเทียบโอน
แต่ การบันทึกในโปรแกรม ITw ยังไม่มีเมนูการโอน กพช.โดยตรง ให้ใช้วิธีบันทึกในเมนู 1 - 4 - 1 ( ขั้นตอนการดำเนินงาน - บันทึก กพช.และการประเมินคุณธรรม - บันทึกการทำกิจกรรม ) บันทึกในภาคเรียนที่มาสมัครเรียน โดยในช่อง "กิจกรรม" ให้ลงว่า "ทำ กพช.ที่สถานศึกษาเดิม หลักสูตรเดียวกัน"
แล้วถ่ายเอกสารใบ รบ. ที่ระบุจำนวนชั่วโมง กพช. เก็บไว้เป็นหลักฐาน แทนเอกสารหลักฐานการทำกิจกรรม กพช. ของนักศึกษาคนนั้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อสงสัย