สัปดาห์นี้มีเรื่องที่คิดว่าน่าสนใจ
ขอเลือกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7 เรื่อง ดังนี้
1. วันที่ 19 ก.พ.58 คุณอ้อย กศน.อ.ลำลูกกา โทรศัพท์มาถามผมว่า การเทียบระดับการศึกษาแบบเดิม บางอำเภอกำหนดเป็นข้อตกลงร่วมกับผู้เข้ารับการเทียบระดับ ว่า ถ้าไม่ส่งแฟ้มประมวลประสบการณ์ หรือไม่ผ่านมิติประสบการณ์ จะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบมิติความรู้ความคิด กำหนดได้หรือไม่
1. วันที่ 19 ก.พ.58 คุณอ้อย กศน.อ.ลำลูกกา โทรศัพท์มาถามผมว่า การเทียบระดับการศึกษาแบบเดิม บางอำเภอกำหนดเป็นข้อตกลงร่วมกับผู้เข้ารับการเทียบระดับ ว่า ถ้าไม่ส่งแฟ้มประมวลประสบการณ์ หรือไม่ผ่านมิติประสบการณ์ จะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบมิติความรู้ความคิด กำหนดได้หรือไม่
ผมตอบว่า ไม่ถูกต้อง โดยตามคู่มือการดำเนินงานฯ การประเมินมิติความรู้ความคิดไม่ได้ต่อเนื่องจากการประเมินมิติประสบการณ์
สามารถเข้าสอบมิติความรู้ความคิดโดยไม่ต้องผ่านมิติประสบการณ์ก่อน
2. คืนวันที่ 19 ก.พ.58 ผอ.กศน.อำเภอแห่งหนึ่ง เขียนในอินบ็อกซ์ผม ว่า ขอข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบที่ยกเลิกคำสั่ง ผอ.จังหวัด ในการให้ข้าราชการไปช่วยราชการจังหวัด
2. คืนวันที่ 19 ก.พ.58 ผอ.กศน.อำเภอแห่งหนึ่ง เขียนในอินบ็อกซ์ผม ว่า ขอข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบที่ยกเลิกคำสั่ง ผอ.จังหวัด ในการให้ข้าราชการไปช่วยราชการจังหวัด
ผมตอบว่า ดูในข้อ 6 ที่ http://nfeph.blogspot.com/2015/01/n-net.html
ผอ.บอกว่า ขอระเบียบที่ ผอ.จังหวัดไม่มีอำนาจในการเอาครูไปช่วยราชการที่
สนง.จังหวัด ลงนามโดยเลขาการุณ มีไหม เพราะ กศน.อำเภอ... ... ผอ.จังหวัดเอาครูไปช่วยราชการไม่ยอมส่งครูกลับมา
ไปเป็นปีแล้ว
ผมตอบว่า ก็ใช้คำสั่งฉบับนี้แหละ ( ถ้าจังหวัดให้ครูไปช่วยราชการเกิน 30 วัน ยิ่งผิดมานานมากแล้ว เพราะปัจจุบันไม่มีระเบียบฉบับไหนให้อำนาจไว้ ผอ.จังหวัดหลายท่านไม่ให้ครูไปช่วยราชการแล้ว แต่บางท่านยังทำ ผอ.จังหวัดบางท่านชอบทำอย่างนี้ พอย้ายไปจังหวัดใหม่ก็ไปทำที่จังหวัดใหม่อีก ส่วนจังหวัดเดิมผู้ที่ย้ายมาแทนท่านก็ส่งตัวครูกลับ เพราะอาจถูกร้องเรียน ) คำสั่งฉบับนี้ใช้คลุมหมด
ถ้าไม่มีระเบียบมอบอำนาจ ก็คือ ไม่มีอำนาจ ( ไม่มีระเบียบ/คำสั่งฉบับไหนที่บอกว่า "มอบให้ ผอ.ไม่มีอำนาจ" ) ผู้ที่ว่ามีอำนาจ จะต้องเป็นฝ่ายหาระเบียบคำสั่ง
3. คืนวันที่ 22 ก.พ.58 ผมประชาสมพันธ์ในเฟซบุ๊ค เรื่องการสอบแบบ e-Exam ของศูนย์ กศน.อำเภอพระนครศรีอยุธยา ว่า
จะทำการเปิดสอบเพื่อประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ สำหรับผู้ไม่ได้เข้าสอบ N-NET โดยการสอบผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ระหว่างวันที่ 1 – 30 มีนาคม 2558 ( หยุดวันเสาร์ )
สถานศึกษาใดที่ต้องการให้นักศึกษาเข้าสอบ e-Exam ที่ศูนย์ กศน.อำเภอพระนครศรีอยุธยา สามารถส่งรายชื่อนักศึกษาขอเข้าสอบได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป (สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 035 – 213385 อ.น้ำฝน และ อ.ชิษณุพงศ์)
ผมตอบว่า ก็ใช้คำสั่งฉบับนี้แหละ ( ถ้าจังหวัดให้ครูไปช่วยราชการเกิน 30 วัน ยิ่งผิดมานานมากแล้ว เพราะปัจจุบันไม่มีระเบียบฉบับไหนให้อำนาจไว้ ผอ.จังหวัดหลายท่านไม่ให้ครูไปช่วยราชการแล้ว แต่บางท่านยังทำ ผอ.จังหวัดบางท่านชอบทำอย่างนี้ พอย้ายไปจังหวัดใหม่ก็ไปทำที่จังหวัดใหม่อีก ส่วนจังหวัดเดิมผู้ที่ย้ายมาแทนท่านก็ส่งตัวครูกลับ เพราะอาจถูกร้องเรียน ) คำสั่งฉบับนี้ใช้คลุมหมด
ถ้าไม่มีระเบียบมอบอำนาจ ก็คือ ไม่มีอำนาจ ( ไม่มีระเบียบ/คำสั่งฉบับไหนที่บอกว่า "มอบให้ ผอ.ไม่มีอำนาจ" ) ผู้ที่ว่ามีอำนาจ จะต้องเป็นฝ่ายหาระเบียบคำสั่ง
3. คืนวันที่ 22 ก.พ.58 ผมประชาสมพันธ์ในเฟซบุ๊ค เรื่องการสอบแบบ e-Exam ของศูนย์ กศน.อำเภอพระนครศรีอยุธยา ว่า
จะทำการเปิดสอบเพื่อประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ สำหรับผู้ไม่ได้เข้าสอบ N-NET โดยการสอบผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ระหว่างวันที่ 1 – 30 มีนาคม 2558 ( หยุดวันเสาร์ )
สถานศึกษาใดที่ต้องการให้นักศึกษาเข้าสอบ e-Exam ที่ศูนย์ กศน.อำเภอพระนครศรีอยุธยา สามารถส่งรายชื่อนักศึกษาขอเข้าสอบได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป (สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 035 – 213385 อ.น้ำฝน และ อ.ชิษณุพงศ์)
ส่วนกลางจะเปิดระบบการสอบในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ของส่วนกลาง
ระหว่าง 1-31 มี.ค.58 แต่จุดสอบบางแห่งอาจกำหนดรายละเอียดในการเปิดสอบต่างกันบ้าง
เช่นบางแห่งอาจไม่เริ่มตั้งวันที่ 1
บางแห่งกำหนดวันหยุดต่างกัน ต้องสอบถามแต่ละแห่งด้วย (
แต่จะไม่มีเริ่มก่อนวันที่ 1 มี.ค.)
4.
4.
ี้ตำแหน่งบรรณารักษ์ว่างประมาณ 30-40 ตำแหน่ง
ส่วนตำแหน่งนักวิชาการศึกษากับตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปมีตำแหน่งว่างไม่มาก จะเปิดรับสมัครสอบประมาณปลายเดือนเมษายน 2558
โดยจะรับสมัครพร้อมกับตำแหน่งนักวิชาการศึกษา และนักจัดการงานทั่วไป”
ส่วนกลางเป็นผู้ดำเนินการสอบ รับสมัครทั่วไป
ยกเว้น 3 จังหวัดชายแดนใต้ สมัครผ่านจังหวัดได้ทุกจังหวัด แต่ไม่ได้สอบที่จังหวัด
และอัตราว่างที่จะบรรจุผู้สอบได้มีไม่ครบทุกจังหวัด
โดยในการประกาศรับสมัครจะระบุว่ามีตำแหน่งใดว่างที่ไหนเท่าไร ผู้สมัครไม่ต้องมีอายุงาน ไม่ต้องเคยทำงาน กศน. ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
รับผู้มีคุณวุฒิตามที่กำหนด
คุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบในแต่ละตำแหน่ง คือ
1) ตำแหน่งบรรณารักษ์ปฏิบัติการ = ได้รับปริญญาทางบรรณารักษศาสตร์ สารนิเทศศาสตร์ ในแต่ละมหาวิทยาลัย อาจตั้งชื่อสาขาวิชาเอกแตกต่างกันบ้าง ปกติถ้าสงสัยจะใช้วิธีดูทรานสคริปท์ว่าเรียนวิชาบรรณารักษ์มาครบหน่วยกิตหรือไม่ ถ้าจังหวัดไหนสงสัยก็บอกให้เขาโทร.หารือ กจ.กศน. ( ต้องจบ สาขาวิชาเอก ต่อไปนี้
- บรรณารักษศาสตร์
- บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
- บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
- สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์
- สารสนเทศศึกษา หรือสารนิเทศศาสตร์ )
2) ตำแหน่งนักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ = ได้รับปริญญาทางการศึกษา ในสาขาดังนี้ (ถ้าจบสาขาอื่น ถึงแม้จะจบ ป.บัณฑิตด้วย ก็สมัครไม่ได้ )
- การศึกษา
- ครุศาสตร์
- ศึกษาศาสตร์
- ครุศาสตร์อุตสาหกรรม
- วิทยาศาสตร์ (ศึกษาศาสตร์...) หรือ (ศึกษาศาสตร์การสอน...) หรือ (การสอน...)
- ศิลปศาสตร์ (ศึกษาศาสตร์...) หรือ (ศึกษาศาสตร์การสอน...)
- คหกรรมศาสตร์บัณฑิต (วิชาเอกคหกรรมศาสตร์ศึกษา) เกษตรศาสตร์บัณฑิต (วิชาเอกเกษตรศึกษา) บริหารธุรกิจบัณฑิต ( วิชาเอกธุรกิจศึกษา)
3) ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ = ได้รับปริญญาในทุกสาขาวิชา
การสอบนี้ไม่ใช้ภาค ก. ของ ก.พ. เพราะเป็นข้าราชการสังกัด ก.ค.ศ. ไม่ใช่สังกัด ก.พ. การสอบครั้งนี้จะสอบทั้งภาค ก. ภาค ข. ตามหลักสูตรที่ ก.ค.ศ.กำหนด ในวันเดียวกัน โดยภาค ก. คือภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ( วิชาความสามารถด้านการคิดคำนวณ/ด้านเหตุผล, วิชาภาษาไทย ) ส่วนภาค ข. คือภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง ( ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ตามมาตรฐานตำแหน่ง )
การติว ต้องรวมตัวกันจัดติวกันเอง
คุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบในแต่ละตำแหน่ง คือ
1) ตำแหน่งบรรณารักษ์ปฏิบัติการ = ได้รับปริญญาทางบรรณารักษศาสตร์ สารนิเทศศาสตร์ ในแต่ละมหาวิทยาลัย อาจตั้งชื่อสาขาวิชาเอกแตกต่างกันบ้าง ปกติถ้าสงสัยจะใช้วิธีดูทรานสคริปท์ว่าเรียนวิชาบรรณารักษ์มาครบหน่วยกิตหรือไม่ ถ้าจังหวัดไหนสงสัยก็บอกให้เขาโทร.หารือ กจ.กศน. ( ต้องจบ สาขาวิชาเอก ต่อไปนี้
- บรรณารักษศาสตร์
- บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
- บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
- สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์
- สารสนเทศศึกษา หรือสารนิเทศศาสตร์ )
2) ตำแหน่งนักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ = ได้รับปริญญาทางการศึกษา ในสาขาดังนี้ (ถ้าจบสาขาอื่น ถึงแม้จะจบ ป.บัณฑิตด้วย ก็สมัครไม่ได้ )
- การศึกษา
- ครุศาสตร์
- ศึกษาศาสตร์
- ครุศาสตร์อุตสาหกรรม
- วิทยาศาสตร์ (ศึกษาศาสตร์...) หรือ (ศึกษาศาสตร์การสอน...) หรือ (การสอน...)
- ศิลปศาสตร์ (ศึกษาศาสตร์...) หรือ (ศึกษาศาสตร์การสอน...)
- คหกรรมศาสตร์บัณฑิต (วิชาเอกคหกรรมศาสตร์ศึกษา) เกษตรศาสตร์บัณฑิต (วิชาเอกเกษตรศึกษา) บริหารธุรกิจบัณฑิต ( วิชาเอกธุรกิจศึกษา)
3) ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ = ได้รับปริญญาในทุกสาขาวิชา
การสอบนี้ไม่ใช้ภาค ก. ของ ก.พ. เพราะเป็นข้าราชการสังกัด ก.ค.ศ. ไม่ใช่สังกัด ก.พ. การสอบครั้งนี้จะสอบทั้งภาค ก. ภาค ข. ตามหลักสูตรที่ ก.ค.ศ.กำหนด ในวันเดียวกัน โดยภาค ก. คือภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ( วิชาความสามารถด้านการคิดคำนวณ/ด้านเหตุผล, วิชาภาษาไทย ) ส่วนภาค ข. คือภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง ( ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ตามมาตรฐานตำแหน่ง )
การติว ต้องรวมตัวกันจัดติวกันเอง
https://dl.dropboxusercontent.com/u/109014048/PDF/38k(2).pdf
5. เช้าวันที่ 24 ก.พ.58 ผมเผยแพร่ในเฟซบุ๊ค เรื่องกำหนดวันเงินเดือนออก ว่า
5. เช้าวันที่ 24 ก.พ.58 ผมเผยแพร่ในเฟซบุ๊ค เรื่องกำหนดวันเงินเดือนออก ว่า
ลูกจ้างในที่นี้คือลูกจ้างที่มีเลขที่อัตรา
( ถ้าจ้างเหมาบริการ จะไม่ใช่ลูกจ้าง แต่เป็น ผู้รับจ้าง )
6. วันตรุษจีน 19 ก.พ.58 สุนันทา สุขเคหา กศน.อ.บางปะหัน ถามผมทั้งทางอินบ็อกซ์ และทางโทรศัพท์ ว่า จำนวนเจ้าหน้าที่และกรรมการดำเนินการสอบ ดูจากระเบียบเก่าปี 36 ใช่ไหม ค่าคุมสอบปัจจุบันเท่าไร และถ้าคุมสอบ 8:30 - 13:30 น. จะเบิกจ่ายค่าคุมสอบครึ่งวันหรือเต็มวัน
ผมตอบไปแล้ว ว่า จำนวนเจ้าหน้าที่และกรรมการดำเนินการสอบ ดูจากระเบียบปี 36 ถูกแล้ว อ่านในข้อ 1 ที่ https://www.gotoknow.org/posts/481090
( หนังสือในลิ้งค์นี้ กำหนดไว้ในข้อ 1.3 ว่า "กรรมการควบคุมการสอบ ห้องสอบละไม่เกิน 2 คน" นั่นคือ ห้องสอบละ 1 คนได้ แต่ คงไม่เหมาะสม )
และผมตอบด้วยความหนักใจเพราะกลัวคนคุมสอบจะไม่พอใจ ว่า ปกติถ้าคุมสอบไม่เต็มวัน จะเบิกเต็มวันไม่ได้ ตามหลักการเบิกจ่ายเงินของทางราชการนั้น เบิกเงินต่ำกว่าเกณฑ์ได้ แต่เบิกเกินเกณฑ์ไม่ได้ เช่น คุมสอบไม่เต็มวันเบิกเงินเต็มวันไม่ได้ แต่คุมสอบเกินครึ่งวันเบิกเงินแค่ครึ่งวันได้
วันที่ 24 ก.พ.58 ผมได้เรียนถามประเด็นนี้กับหน่วยตรวจสอบภายใน กศน. ( อ.สุณีย์ ) ได้รับคำตอบว่า
เต็มวันคือเวลาสอบ 8:30-16:30 น. แต่ถ้า 9:00-16:00
น. ก็อนุโลมให้เบิกเงินเต็มวันได้ เพราะถ้าจะเริ่มสอบ 9:00 น. ก็ต้องมาถึงสนามสอบตั้งแต่ 8:30 น.
และเมื่อหมดเวลาสอบ 16:00 น.
ก็อาจต้องจัดการเอกสารต่างๆต่อถึง 16:30 น.
แต่กรณีสอบถึง 13:30 น.ตามที่ถามนี้ ( กรณีเริ่มสอบหลัง 9:00 น. หรือหมดเวลาสอบก่อน 16:00 น. ) จะอนุโลมให้เบิกเต็มวันไม่ได้ ต้องเบิกครึ่งวัน ถ้าเวลาสอบไม่ถึงครึ่งวันจึงจะอนุโลมให้เบิกครึ่งวันได้
( กรณีนี้ ถ้าผู้คุมสอบจะไม่พอใจ ควรจัดให้บุคลากร กศน.เป็นผู้คุมสอบในห้องสอบนี้ )
7. ตั้งแต่คืนวันที่ 11 พ.ย.57 Mickeymouse FC และ วีรากร มณีทรัพย์สุคนธ์ ถามในเฟซบุ๊คกลุ่มครูนอกระบบ ว่า กศน.ตำบลที่ใช้อาคารสถานที่ของหน่วยงานภาครัฐต่างสังกัดหรือเอกชน เช่น โรงเรียน จะเบิกค่าน้ำค่าไฟจากต้นสังกัดได้หรือไม่
แต่กรณีสอบถึง 13:30 น.ตามที่ถามนี้ ( กรณีเริ่มสอบหลัง 9:00 น. หรือหมดเวลาสอบก่อน 16:00 น. ) จะอนุโลมให้เบิกเต็มวันไม่ได้ ต้องเบิกครึ่งวัน ถ้าเวลาสอบไม่ถึงครึ่งวันจึงจะอนุโลมให้เบิกครึ่งวันได้
( กรณีนี้ ถ้าผู้คุมสอบจะไม่พอใจ ควรจัดให้บุคลากร กศน.เป็นผู้คุมสอบในห้องสอบนี้ )
7. ตั้งแต่คืนวันที่ 11 พ.ย.57 Mickeymouse FC และ วีรากร มณีทรัพย์สุคนธ์ ถามในเฟซบุ๊คกลุ่มครูนอกระบบ ว่า กศน.ตำบลที่ใช้อาคารสถานที่ของหน่วยงานภาครัฐต่างสังกัดหรือเอกชน เช่น โรงเรียน จะเบิกค่าน้ำค่าไฟจากต้นสังกัดได้หรือไม่
ผมตอบไปแล้ว ว่า สามารถเบิกจ่ายค่าสาธารณูปโภค(ค่าน้ำค่าไฟ)
จากเงินอุดหนุนได้ ถ้า.. มีเงินอุดหนุนรายหัวมากพอและผู้บริหารอนุญาต
( ต่างกับการใช้สถานที่หน่วยงานอื่นเป็นสนามสอบปลายภาค หรือใช้สอนการศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งใช้เพียงครั้งคราว ให้จ่ายเป็นเงินทดแทนหรือเงินชดเชยการใช้สถานที่ แต่ กศน.ตำบล และ ศรช. ถ้าขอใช้สถานที่หน่วยงานอื่นตลอดปี เบิกจ่ายเป็นค่าสาธารณูปโภคได้ )
( ต่างกับการใช้สถานที่หน่วยงานอื่นเป็นสนามสอบปลายภาค หรือใช้สอนการศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งใช้เพียงครั้งคราว ให้จ่ายเป็นเงินทดแทนหรือเงินชดเชยการใช้สถานที่ แต่ กศน.ตำบล และ ศรช. ถ้าขอใช้สถานที่หน่วยงานอื่นตลอดปี เบิกจ่ายเป็นค่าสาธารณูปโภคได้ )
วันที่ 24 ก.พ.58
ผมได้เรียนถามประเด็นนี้กับหน่วยตรวจสอบภายใน กศน. ( อ.สุณีย์ )
อีกครั้ง ได้รับคำตอบว่า กรณีนี้เคยมี
กศน.อ.หาดใหญ่หารือ
กรมบัญชีกลางตอบว่าใช้ใบเสร็จค่าสาธารณูปโภคของหน่วยงานอื่นมาเบิกจ่ายได้ แต่ถ้าไม่แยกมิเตอร์จะมีปัญหาไม่มีระเบียบรองรับ
ถ้าจะขอใช้อาคารสถานที่เขาเป็นเวลานาน ให้เขาแยกมิเตอร์สำหรับส่วนที่เราใช้โดยเฉพาะ
และนำใบเสร็จรับเงินค่าสาธารณูปโภคสำหรับมิเตอร์นี้ ( ใบเสร็จฉบับจริง )
มาเบิกจากเราได้
ถึงแม้ชื่อหน่วยงานในใบเสร็จนั้นจะเป็นชื่อหน่วยงานอื่นไม่ใช่ชื่อหน่วยงาน กศน. (
ใช้บันทึกการขอใช้อาคารสถานที่ ประกอบ )
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อสงสัย